Table of Contents Table of Contents
Previous Page  110 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 110 / 284 Next Page
Page Background

ครูอาจตั้งคำ�ถามให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า

รุ่น F

1

มีเมล็ดเป็นสีแดงปานกลางและรุ่น F

2

เมล็ด

มีสีแดงเข้มไปจนถึงสีขาวได้อย่างไร

โดยอาจชี้แนะให้พิจารณาจากจำ�นวนของแอลลีลเด่น จีโนไทป์

ของแต่ละรุ่นและการแสดงออกของยีนแต่ละคู่ จากการวิเคราะห์นักเรียนควรสรุปเป็นแผนภาพได้ดังนี้

จะเห็นได้ว่ารุ่น F

1

มีเมล็ดสีแดงปานกลาง เนื่องจากจีโนไทป์มีแอลลีลเด่นและแอลลีลด้อยจำ�นวน

เท่ากันคือ 3 แอลลีล ฟีโนไทป์มีลักษณะกึ่งกลาง เมื่อให้ F

1

ผสมกันเองจะได้รุ่น F

2

ที่มีฟีโนไทป์แตกต่าง

กันเป็น 7 แบบ ขึ้นอยู่กับจำ�นวนแอลลีลเด่น ถ้ามีแอลลีลเด่นมากเมล็ดจะมีสีแดง ทำ�นองเดียวกันถ้า

แอลลีลเด่นมีน้อยเมล็ดจะมีสีแดงจางลงมา ถ้าไม่มีแอลลีลเด่นเมล็ดจะมีสีขาว

คำ�ถามในหนังสือเรียนมีแนวการตอบดังนี้

เมล็ดข้าวสาลีในรุ่น F

2

มีฟีโนไทป์กี่แบบ คิดเป็นอัตราส่วนเท่าใด

รุ่น F

2

มีฟีโนไทป์ 7 แบบ ในอัตราส่วน 1 : 6 : 15 : 20 : 15 : 6 : 1

เมล็ดข้าวสาลีในรุ่น F

2

จะมีโอกาสมีฟีโนไทป์เหมือนรุ่น F

1

เป็นเท่าใด

มีฟีโนไทป์เหมือนพ่อแม่ (F

1

) คือ

หรือ

ระดับความเข้มของสีเมล็ดข้าวสาลีขึ้นอยู่กับสิ่งใด

ระดับความเข้มของสีของเมล็ดข้าวสาลีขึ้นอยู่กับจำ�นวนแอลลีลเด่นในจีโนไทป์

เมื่อนำ�ต้นข้าวสาลีที่มีจีโนไทป์

R

1

r

1

R

2

r

2

R

3

R

3

ผสมพันธุ์กับ

R

1

r

1

R

2

R

2

r

3

r

3

ต้นพ่อและต้นแม่จะ

สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้กี่แบบ และรุ่นลูกมีโอกาสมีฟีโนไทป์ได้กี่แบบ

ต้นที่มีจีโนไทป์

R

1

r

1

R

2

r

2

R

3

R

3

จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 4 แบบ ได้แก่

R

1

R

2

R

3

 R

1

r

2

R

3

 r

1

R

2

R

3

และ

r

1

r

2

R

3

และต้นที่มีจีโนไทป์

R

1

r

1

R

2

R

2

r

3

r

3

จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 2 แบบ ได้แก่

R

1

R

2

r

3

และ

r

1

R

2

r

3

รุ่นลูกมีโอกาสมีฟีโนไทป์ได้ 4 แบบ

รุ่น P

รุ่น F

1

เมล็ดสีแดงเข้ม

เมล็ดสีแดงปานกลาง

เมล็ดสีขาว

R

1

R

1

R

2

R

2

R

3

R

3

R

1

R

2

R

3

R

1

r

1

R

2

r

2

R

3

r

3

r

1

r

1

r

2

r

2

r

3

r

3

r

1

r

2

r

3

×

เซลล์สืบพันธุ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ชีววิทยา เล่ม 2

98