Table of Contents Table of Contents
Previous Page  82 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 82 / 284 Next Page
Page Background

1.2 โอกาสที่จะได้รุ่น F

2

ที่มีจีโนไทป์

aabbrr

เป็นเท่าใด

โอกาสที่จะได้รุ่น F

2

ที่มีจีโนไทป์

aabbrr

เท่ากับ ในที่นี้จะเสนอวิธีคิด 2 วิธี

แนวการคิด

แสดงได้ดังนี้

วิธีที่ 1 การเข้าตารางพันเนตต์

วิธีที่ 2 การพิจารณาทีละลักษณะ และใช้หลักการคูณโดยนำ�ผลที่คำ�นวณได้จากแต่ละ

ลักษณะมาคูณกัน เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกัน ดังแผนภาพ

1.3 โอกาสที่รุ่น F

2

จะมีจีโนไทป์เหมือนพ่อแม่เป็นเท่าใด

เมื่อพิจารณาทีละลักษณะและใช้หลักการคูณ โอกาสที่จะได้รุ่น F

2

ที่มีจีโนไทป์เหมือน

พ่อแม่ (

AaBbrr

) คือ 1/4

AaBbrr

AaBbrr

ABr

ABr

ABr

ABr

Abr

Abr

Abr

Abr

aBr

aBr

aBr

aBr

abr

abr

abr

abr

รุ่น F

1

F

1

×

F

1

AABBrr

AABbrr

AaBBrr

AaBbrr

AABbrr

AAbbrr

AaBbrr

Aabbrr

AaBBrr

AaBbrr

aaBBrr

aaBbrr

AaBbrr

Aabbrr

aaBbrr

aabbrr

×

AaBbrr

AaBbrr

Aa

×

Aa

1/4

AA

:

Aa

: 1/4

aa

1/4

BB

:

Bb

: 1/4

bb

1

rr

Bb

×

Bb

rr

×

rr

รุ่น F

1

F

1

×

F

1

โอกาสที่จะได้รุ่น F

2

ที่มีจีโนไทป์เป็น

aabbrr

= 1/4 × 1/4 × 1

=

×

เซลล์สืบพันธุ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ชีววิทยา เล่ม 2

70