Table of Contents Table of Contents
Previous Page  161 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 161 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลองค์ประกอบ

ลมฟ้าอากาศมาจัดทำ�ให้อยู่ในรูปของ

แผนภูมิแท่งหรือกราฟเส้น และนำ�เสนอ

๒. ทักษะการพยากรณ์ โดยการคาดคะเน

เกี่ยวกับสภาพลมฟ้าอากาศจากข้อมูล

การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

ก า ร สื่ อ ส า ร โ ด ย ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล

องค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากอินเทอร์เน็ต

๒. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย

วิเคราะห์คำ�พยากรณ์อากาศเพื่อนำ�มาใช้

ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ

และการปฏิบัติตนให้เหมาะสมตามบทบาท

สมมติ

๓. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ

คำ�พยากรณ์อากาศที่สร้างขึ้น

๔. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูล

จัดกระทำ� นำ�เสนอ และอภิปราย เกี่ยวกับ

ก า รพย า ก รณ์อ า ก า ศ ก า ร เ ผยแพร่

คำ�พยากรณ์ และการใช้ประโยชน์จาก

คำ�พยากรณ์อากาศ

- สร้างคำ�พยากรณ์อากาศในวันถัดไปจากข้อมูลที่วิเคราะห์โดย

การทำ�นายแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบลมฟ้าอากาศ

เหล่านั้น และนำ�เสนอ

๕. นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องของคำ�พยากรณ์โดยเปรียบเทียบกับ

ผลการตรวจวัดองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น

กรมอุตุนิยมวิทยา

๖. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ช่วยให้การพยากรณ์อากาศ

มีความแม่นยำ�มากขึ้น เช่น เทคโนโลยีในการตรวจวัดองค์ประกอบ

ลมฟ้าอากาศ และเทคโนโลยีในการพยากรณ์อากาศ

๗. ครูนำ�คำ�พยากรณ์อากาศมาให้นักเรียนฝึกแปลความหมายตามความเข้าใจ

ของตนเอง เช่น ฝน ๓๐% ของพื้นที่ ความกดอากาศสูงจาก

ประเทศจีนแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทย แล้วสืบค้นเปรียบเทียบกับ

การแปลความหมายที่ถูกต้อง

๘. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรับบทบาทสมมติเป็นผู้ประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น

เกษตรกร เจ้าหน้าที่กรมชลประทาน นักบิน เจ้าของธุรกิจท่องเที่ยว เจ้าของ

ธุรกิจค้าขาย จากนั้นครูแจกคำ�พยากรณ์อากาศให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม

และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำ�พยากรณ์ในประเด็นต่อไปนี้

- ข้อมูลสภาพลมฟ้าอากาศที่ปรากฏในคำ�พยากรณ์

- ผลที่เกิดขึ้นจากสภาพลมฟ้าอากาศ

- การใช้ประโยชน์จากคำ�พยากรณ์ในอาชีพที่ได้รับบทบาทสมมติ

๙. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการอภิปราย จากนั้นครูให้นักเรียนร่วมกัน

อภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าการพยากรณ์อากาศจะบอกสภาพลมฟ้าอากาศ

และผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถนำ�มาใช้

ประโยชน์ในด้านๆ เช่น การปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับสภาพลมฟ้าอากาศ

ด้านเกษตรกรรม ด้านคมนาคมทางน้ำ�และอากาศ การชลประทาน

ธุรกิจการท่องเที่ยว และการเฝ้าระวังภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยเราทุกคน

ควรติดตามข้อมูลเกี่ยวกับการพยากรณ์อากาศอย่างสม่ำ�เสมอ

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล

จากการเขียนกราฟหรือแผ่นภูมิแท่ง ได้อย่างถูกต้อง

และเหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมาย

ของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง

๒. ประเมินทักษะการพยากรณ์จากการคาดคะเนเกี่ยวกับ

สภาพลมฟ้าอากาศจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลง

องค์ประกอบลมฟ้าอากาศได้อย่างสมเหตุสมผล

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสารจากการสืบค้นข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้า

โดยใช้อินเทอร์เน็ต จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้และมี

การอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น

๒. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก

การวิเคราะห์คำ�พยากรณ์เพื่อนำ�มาใช้การตัดสินใจ

เกี่ยวกับการประกอบอาชีพและการปฏิบัติตนให้เหมาะ

สมตามบทบาทสมมติได้อย่างสมเหตุสมผล

๓. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ

คำ�พยากรณ์ที่สร้างขึ้น เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง

รวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง

๔. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม

จากการร่วมกันสืบค้นข้อมูล จัดกระทำ� นำ�เสนอ และ

อภิปราย เกี่ยวกับการพยากรณ์อากาศ การเผยแพร่

คำ�พยากรณ์ และการใช้ประโยชน์จากคำ�พยากรณ์

อากาศร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

151

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑