การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
ก า ร สื่ อ ส า ร โ ด ย ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล
เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
วัฏจักรคาร์บอน และผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ
ข้อมูลวัฏจักรคาร์บอน ผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม และแนวทางการปฏิบัติตน
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
๓. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยการร่วมกันสืบค้น รวบรวม
ข้อมูล อภิปรายนำ�เสนอ และลงข้อสรุป
เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
วั ฏ จั ก ร ค า ร์ บ อ น ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม และแนวทางการปฏิบัติตน
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
ด้านจิตวิทยาศาสตร์
ตระหนักถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศโลก
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
ก า ร สื่ อ ส า ร จ า ก ก า ร สืบค้นข้ อมูล เ กี่ ย ว กับ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก วัฏจักรคาร์บอน และ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
และมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอข้อมูล
วัฏจักรคาร์บอน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศโลกต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และ
แนวทางการปฏิบัติตนภายใต้การเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศโลกเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
ชัดเจน และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม จากการร่วมกันสืบค้น รวบรวมข้อมูล
อภิป ร า ยนำ � เ สนอ แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป เ กี่ ย ว กับ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก วัฏจักรคาร์บอน
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และแนวทางการปฏิบัติตน
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกร่วมกับผู้อื่น
ตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง
ด้านจิตวิทยาศาสตร์
ประเมินความตระหนักถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศโลกโดยนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใต้
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
๗. นักเรียนนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใต้การเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศโลกโดยแสดงบทบาทสมมติ เป็นผู้ที่มีอาชีพต่าง ๆ ที่ได้
รับผลกระทบ ได้แก่ เจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม นักธุรกิจ วิศวกร
นักวิทยาศาสตร์ ครู เกษตรกร ประชาชนทั่วไป จากนั้นร่วมกันอภิปราย
เพื่อลงข้อสรุปว่า ทุกคนควรร่วมมือกันในการลดกิจกรรมจากมนุษย์ที่
ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก เช่น การใช้พลังงานเชื้อเพลิง
จากพลังงานทดแทน การใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเหมาะสม รวมทั้ง
การพัฒนาเทคโนโลยีที่ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก อีกทั้งควรปรับตัว
เพื่อให้สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัยภายใต้
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกดังกล่าว เช่น ระวัง
โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ� การเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาการเพาะปลูก หรือ
เปลี่ยนชนิดของพืชในการทำ�การเกษตร
154