การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตพฤติกรรม
การดำ�รงชีวิตระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต
๒. ทักษะการวัด โดยเลือกและใช้เครื่องมือ
เพื่อวัดปริมาณขององค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
ในระบบนิเวศ เช่น อุณหภูมิ ความเป็น
กรด - เบส น้ำ� แสงสว่าง
๓. ทักษะการจำ�แนกประเภทโดยระบุสิ่งแวดล้อม
ที่เป็นองค์ประกอบที่มีชีวิตและองค์ประกอบ
ที่ไม่มีชีวิตในระบบนิเวศ
๔. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล
โดยนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมาจัดกระทำ�
ในรูปแบบต่าง ๆ
๕. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
โดยการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมา
แปลความหมายเพื่ออธิบายปฏิสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบในระบบนิเวศ
๔. นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูล และอธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ
ในระบบนิเวศ ให้สอดคล้องกับข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้ และ
นำ�เสนอผล โดยจัดกระทำ�ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เขียนภาพ ตาราง
๕. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน เพื่อลงข้อสรุปว่า ภายในระบบนิเวศ
ประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ตัวอย่างปฏิสัมพันธ์
ระหว่างองค์ประกอบที่มีชีวิตกับองค์ประกอบที่มีชีวิต เช่น สัตว์กินพืช
หรือกินสัตว์ด้วยกันเองเป็นอาหารเพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้ ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างองค์ประกอบที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่น พืชต้องการน้ำ� แสง และ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อใช้การสังเคราะห์
ด้วยแสง สัตว์ต้องการอุณหภูมิ ความชื้นอย่างพอเหมาะในการดำ�รงชีวิต
ในระบบนิเวศองค์ประกอบทั้งสองต้องมีปฏิสัมพันธ์กันและเป็นไปอย่าง
เหมาะสม ระบบนิเวศจึงจะคงอยู่ต่อไปได้
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึกข้อมูล
เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตที่เป็นองค์ประกอบ
ในระบบนิเวศ รวมถึงความสัมพันธ์กันระหว่าง
องค์ประกอบในระบบนิเวศตามความเป็นจริงโดย
ไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว
๒. ประเมินทักษะการวัด จากการเลือกและใช้เครื่องมือ
ต่าง ๆ เช่น ใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของอากาศ
น้ำ� และดิน ใช้เครื่องวัดความเป็นกรด-เบสวัดความ
เป็นกรด-เบส ใช้ลักซ์มิเตอร์วัดความเข้มของแสง
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
๓. ประเมินการจำ�แนกประเภท จากการจำ�แนก
สิ่งแวดล้อมออกเป็นองค์ประกอบที่มีชีวิต และ
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตได้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำ�หนด
๔. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต มา
จัดกระทำ�ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เขียนภาพ ตาราง
ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจ
ความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน
และถูกต้อง
๕. ประ เ มินทักษะกา รตีคว ามหมายข้อมูลและ
ลงข้อสรุป จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
มาแปลความหมายและอธิบายปฏิสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบในระบบนิเวศได้อย่างถูกต้อง
268