การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๓. ดวงอาทิตย์และโลกก็มีแรงโน้มถ่วงซึ่งกันและ
กัน แรงที่ดวงอาทิตย์ดึงดูดโลกส่งผลต่อระดับ
น้ำ�บนผิวโลกเช่นกัน เมื่อดวงจันทร์ โลกและ
ดวงอาทิตย์อยู่ในแนวเดียวกันความแตกต่าง
ระหว่างระดับน้ำ�ขึ้นและน้ำ�ลงจะมีค่าสูงสุด
เรียกว่า น้ำ�เกิด เมื่อแนวของตำ�แหน่งระหว่าง
ดวงจันทร์และโลก และแนวของตำ�แหน่ง
ระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ตั้งฉากกัน ระดับ
น้ำ�ขึ้นและน้ำ�ลงจะเปลี่ยนแปลงไม่มาก เรียก
ว่า น้ำ�ตาย
๔. เมื่อดวงจันทร์ โลกและดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ใน
แนวเดียวกันจะเป็นช่วงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� และวัน
แรม ๑๕ ค่ำ� และเมื่อแนวของตำ�แหน่งระหว่าง
ดวงจันทร์และโลก และแนวของตำ�แหน่ง
ระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ตั้งฉากกัน จะเป็น
ช่วงวันขึ้น ๘ ค่ำ� และวันแรม ๘ ค่ำ� ดังนั้นน้ำ�
เกิดจึงเกิดช่วงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� และแรม ๑๕ ค่ำ�
และน้ำ�ตายจึงเกิดช่วงขึ้น ๘ ค่ำ� และแรม ๘ ค่ำ�
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล
โดยนำ�ข้อมูลที่สืบค้นได้เกี่ยวกับน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงมา
จัดกระทำ�และนำ�เสนอ
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล
จากการนำ�ข้อมูลที่สืบค้นเกี่ยวกับน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงมาจัดให้
อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย และนำ�เสนอได้อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของ
ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
๗. นักเรียนตีความหมายจากข้อมูลและลงข้อสรุปโดยบรรยาย
ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำ� เพื่อลง
ข้อสรุปว่า ช่วงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� และวันแรม ๑๕ ค่ำ� ความแตกต่าง
ระหว่างระดับน้ำ�ขึ้นและน้ำ�ลงจะมีค่าสูงสุด และช่วงวันขึ้น ๘ ค่ำ� และ
วันแรม ๘ ค่ำ� ระดับน้ำ�ขึ้นและน้ำ�ลงจะเปลี่ยนแปลงไม่มาก
๘. ครูเพิ่มเติมความรู้โดยให้ความหมายของน้ำ�เกิดและน้ำ�ตาย
๙. นักเรียนสืบค้นข้อมูล หรือหาภาพจากสื่อต่าง ๆ แสดงตำ�แหน่ง
ของโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ ช่วงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� วันแรม ๑๔
หรือ ๑๕ ค่ำ� วันขึ้น ๘ ค่ำ� และวันแรม ๘ ค่ำ� เพื่อหาความสัมพันธ์
ระหว่างตำ�แหน่งเหล่านั้นกับการเกิดน้ำ�เกิดและน้ำ�ตาย
วันขึ้น ๑๕ ค่ำ� และวันแรม ๑๕ ค่ำ�
วันขึ้น ๘ ค่ำ� และวันแรม ๘ ค่ำ�
351
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓