การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
รูปร่างของดวงจันทร์เปลี่ยนแปลงช่วงเวลาที่เห็น
ดวงจันทร์สว่างขึ้นจนสว่างเต็มดวงเป็นข้างขึ้น
ส่วนช่วงเวลาที่เห็นดวงจันทร์สว่างน้อยลงเรื่อยๆ
จนมองไม่เห็นดวงจันทร์เป็นข้างแรม จากนั้นก็
จะเห็นดวงจันทร์ค่อยๆสว่างขึ้น จนสว่างเต็มดวง
อีกครั้งหนึ่ง หมุนเวียนต่อเนื่องเช่นนี้เป็นวัฏจักร
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตดวงจันทร์
บนท้องฟ้าเป็นเวลา ๑ เดือน
๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยการจัดกระทำ�ข้อมูลและนำ�
เสนอเกี่ยวกับการเกิดข้างขึ้นข้างแรมจาก
แบบจำ�ลอง และจากการสังเกตดวงจันทร์
บนท้องฟ้า
๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและ ลงข้อสรุป
จากข้อมูลที่ได้จากแบบจำ�ลองและการสังเกต
ดวงจันทร์บนท้องฟ้า เพื่อลงข้อสรุปเกี่ยวกับ
การเกิดข้างขึ้นข้างแรม
๔. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง ออกแบบและ
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เพื่อสร้างแบบจำ�ลองที่
อธิบายการเกิดข้างขึ้นข้างแรม
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
การสังเกตดวงจันทร์บนท้องฟ้าเป็นเวลา ๑ เดือน ได้
ครบถ้วนตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่มความคิดเห็น
ส่วนตัว
๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยการจัดกระทำ�ข้อมูลและนำ�เสนอ
เกี่ยวกับการเกิดข้างขึ้นข้างแรมจากแบบจำ�ลอง และ
จากการสังเกตดวงจันทร์บนท้องฟ้าได้ถูกต้องและ
เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของ
ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลง
ข้อสรุปจากข้อมูลที่ไ ด้จากแบบจำ �ลองและ
การสังเกตดวงจันทร์บนท้องฟ้า เพื่อลงข้อสรุป
เกี่ยวกับการเกิดข้างขึ้นข้างแรมได้อย่างถูกต้อง
๔. ประ เ มินทักษะกา รสร้ า ง แบบจำ �ลอง จาก
แบบจำ�ลองที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้อง
เกี่ยวกับการเกิดข้างขึ้นข้างแรม
๓. นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดข้างขึ้น ข้างแรมที่ทำ�ให้
คนบนโลกมองเห็นดวงจันทร์มีรูปร่างแตกต่างกันในแต่ละวัน นักเรียนแสดง
ความคิดเห็นตามความเข้าใจของตัวเอง และเปรียบเทียบความคิดเห็น
ของตนเองกับเพื่อน
๔. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเกิดข้างขึ้น ข้างแรมจาก
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ที่เชื่อถือได้
๕. นักเรียนวิเคราะห์ความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นจากแหล่ง
ต่างๆ และเลือกใช้ข้อมูลสร้างแบบจำ�ลองอธิบายการเกิดข้างขึ้น ข้างแรม
๖. นักเรียนสังเกตและรวบรวมข้อมูลจากแบบจำ�ลองการเกิดข้างขึ้นข้างแรม
เพื่อสังเกตรูปร่างของดวงจันทร์ที่คนบนโลกสังเกตได้และพื้นที่ที่ดวงจันทร์
ได้รับแสงทั้งหมดในแต่ละคืน ขณะที่ดวงจันทร์เปลี่ยนตำ�แหน่งเมื่อโคจร
รอบโลก จากนั้นนักเรียนสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้เพื่อใช้อธิบายการเกิด
ข้างขึ้นข้างแรม
๗. นักเรียนวางแผนและร่วมกันสังเกตดวงจันทร์บนท้องฟ้าเป็นเวลา ๑ เดือน
บันทึกผล จัดกระทำ�และนำ�เสนอในรูปแบบที่เข้าใจง่าย
๘. นักเรียนอภิปรายเชื่อมโยงความรู้จากการสร้างแบบจำ�ลองและการสังเกต
ดวงจันทร์บนท้องฟ้าเป็นเวลา ๑ เดือน เพื่อลงข้อสรุปว่า ข้างขึ้นข้างแรม
เกิดจากการที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก ขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
แม้ว่าดวงจันทร์จะได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ครึ่งดวงตลอดเวลา แต่
การที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกจึงเปลี่ยนตำ�แหน่ง จึงหันส่วนสว่างมายัง
โลกแตกต่างกันในแต่ละวัน ทำ�ให้คนบนโลกมองเห็นรูปร่างของดวงจันทร์
เปลี่ยนแปลงช่วงเวลาที่เห็นดวงจันทร์สว่างขึ้นจนสว่างเต็มดวงเป็นข้างขึ้น
ส่วนช่วงเวลาที่เห็นดวงจันทร์สว่างน้อยลงเรื่อยๆจนมองไม่เห็นดวงจันทร์
เป็นข้างแรม จากนั้นก็จะเห็นดวงจันทร์ค่อยๆสว่างขึ้น จนสว่างเต็มดวงอีก
ครั้งหนึ่ง หมุนเวียนต่อเนื่องเช่นนี้เป็นวัฏจักร
346