Table of Contents Table of Contents
Previous Page  353 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 353 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัดิ

เ์

ตัวี้ วัดั

ดี ยู้ั

ดิ

นั วี้ วัด

๓. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลองโดยการออกแบบ

และเลือกวัสดุอุปกรณ์เพื่อสร้างแบบจำ�ลองที่

อธิบายการเกิดฤดูของโลก

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น

ทีม โดยร่วมกันสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล

สร้างแบบจำ�ลอง นำ�เสนอและอภิปราย

เกี่ยวกับการเกิดฤดูของโลก

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ

แบบจำ�ลองที่อธิบายการเกิดฤดูของโลก

๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสารจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ช่วยในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดฤดู

ของโลก

ด้านความรู้

การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ในลักษณะที่

แกนโลกเอียงคงที่ ทำ�ให้มองเห็นตำ�แหน่งการขึ้น

และตกของดวงอาทิตย์มีการเปลี่ยนแปลง

ตำ�แหน่งเล็กน้อยในแต่ละวัน และเมื่อครบรอบ

๑ ปี ตำ�แหน่งการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์กลับ

มาซ้ำ�แบบเดิมอีกเป็นวัฏจักร

๓. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากการสร้าง

แบบจำ�ลองที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้อง

เกี่ยวกับการเกิดฤดูของโลก และเลือกวัสดุแทนโลก

และดวงอาทิตย์ได้อย่างเหมาะสม

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จากการ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล

สร้างแบบจำ�ลอง นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับ

การเกิดฤดูของโลกร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จ

ลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสารจากการนำ�เสนอ

แบบจำ�ลองที่อธิบายการเกิดฤดูของโลก เพื่อให้

ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสารจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน

การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดฤดูของโลกจากแหล่ง

ข้อมูลที่เชื่อถือได้และมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น

ด้านความรู้

อธิบายการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ในรอบปี

การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ในรอบปี

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนสงสัยเกี่ยวกับการมองเห็นดวงอาทิตย์เคลื่อนที่

ปรากฏบนท้องฟ้าในรอบปี โดยอาจใช้สถานการณ์หรือคำ�ถาม หรือ

สื่อต่างๆเช่นรูปภาพ วีดิทัศน์แสดงตำ�แหน่งการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์

ใน ๑ ปี หรือข้อมูลแสดงมุมทิศการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ใน ๑ ปี

(ข้อมูลจากกรมอุทกศาสตร์)

343

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓