การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ของวัตถุเป็นวงกลมเมื่อเปลี่ยนความยาวเชือก
และมวล
๕. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
โดยการตีความหมายและลงข้อสรุปเกี่ยวกับ
ค่าแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์และ
ดวงอาทิตย์จากการคำ�นวณ การทดลอง
การเคลื่อนที่เป็นวงกลมของวัตถุ
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้าน เ ทค โ น โ ลยีสา รสน เ ทศและ
การสื่อสาร โดยการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมวล
ของดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์ และ ระยะห่าง
ระหว่างดาวเคราะห์แต่ละดวงกับดวงอาทิตย์
และสมการแรงโน้มถ่วง
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอเกี่ยวกับ
การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์
ด้วยแรงโน้มถ่วง และ ปัจจัยที่ดาวเคราะห์
มีอัตราเร็วในการโคจรรอบดวงอาทิตย์
แตกต่างกัน
๓. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยร่วมกันสืบค้นข้อมูล คำ�นวณ
วิเคราะห์ข้อมูล นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับ
การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วย
แรงโน้มถ่วง
๔. ประเมินทักษะการทดลอง จากการออกแบบ
การทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึก
ผลการทดลองเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็น
วงกลมเมื่อเปลี่ยนความยาวเชือกและมวลได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
๕. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
จากการตีความหมายและลงข้อสรุปเกี่ยวกับ
ค่าแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์
จากการคำ�นวณ การทดลองการเคลื่อนที่เป็นวงกลม
ของวัตถุได้อย่างถูกต้อง
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จากการสืบค้นข้อมูลของดาวเคราะห์
ดวงอาทิตย์ และสมการแรงโน้มถ่วงจากอินเทอร์เน็ต
จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้และมีการอ้างอิงแหล่ง
ข้อมูลที่สืบค้น
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วย
แรงโน้มถ่วง และ ปัจจัยที่ดาวเคราะห์มีอัตราเร็วใน
การโคจรรอบดวงอาทิตย์แตกต่างกันเพื่อให้ผู้อื่น
เข้าใจ ได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น
ทีม จากการสืบค้นข้อมูล คำ�นวณ วิเคราะห์ข้อมูล
นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับ การโคจรของ
ดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง ร่วมกับ
ผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จ ลุล่วง
๘. ครูอธิบายเชื่อมโยงสู่การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ว่าการที่
ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ภายใต้แรงโน้มถ่วงนั้น ดาวเคราะห์
มีอัตราเร็วในการโคจรซึ่งสามารถแสดงได้ดังสมการ v² = GM/r
เมื่อ v คือ อัตราเร็วในการโคจร
G คือค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล
M คือมวลของดวงอาทิตย์
r คือระยะทางระหว่างดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์
๙. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการโคจรของดาวเคราะห์รอบ
ดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง เพื่อลงข้อสรุปว่า ดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์
มีแรงโน้มถ่วงกระทำ�ซึ่งกันและกัน และส่งผลให้ดาวเคราะห์โคจรรอบ
ดวงอาทิตย์ด้วยความเร็วค่าหนึ่งซึ่งอัตราเร็วในการโคจรสัมพันธ์กับระยะ
ทางระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์ โดยอัตราเร็วมีค่าลดลงเมื่อระยะ
ทางเพิ่มขึ้น
341
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓