Table of Contents Table of Contents
Previous Page  355 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 355 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๒. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จากการร่วมกันสืบค้นข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล จัดกระทำ� นำ�เสนอ

สร้างแบบจำ�ลองและอภิปรายเกี่ยวกับ

การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ใน

แต่ละวันในรอบปี

๓. ทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ

ผลงานจากแบบจำ�ลองที่อธิบายการเคลื่อนที่

ปรากฏของดวงอาทิตย์ในแต่ละวันในรอบปี

๒. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม

จากการสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล จัดกระทำ�

นำ�เสนอ สร้างแบบจำ�ลองและอภิปราย เกี่ยวกับ

การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ในแต่ละวันในรอบ

ปีร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

๓. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผลงาน

จากแบบจำ�ลองที่อธิบายการเคลื่อนที่ปรากฏของ

ดวงอาทิตย์ในแต่ละวันในรอบปี เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ

ได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๓. สร้างแบบจำ�ลองที่อธิบายการเกิดข้างขึ้นข้างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการขึ้นและตกของดวงจันทร์ และการเกิดน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง

ด้านความรู้

ข้างขึ้นข้างแรมเกิดจากการที่ดวงจันทร์โคจร

รอบโลก ขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ แม้ว่า

ดวงจันทร์จะได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ครึ่งดวง

ตลอดเวลา แต่การที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก

จึงเปลี่ยนตำ�แหน่ง จึงหันส่วนสว่างมายังโลก

แตกต่างกันในแต่ละวัน ทำ�ให้คนบนโลกมองเห็น

ด้านความรู้

อธิบายการเกิดข้างขึ้นข้างแรม

การเกิดข้างขึ้นข้างแรม

๑. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เกี่ยวกับการมองเห็นดวงจันทร์ซึ่ง

เป็นวัตถุท้องฟ้าที่ไม่มีแสงในตัวเอง

๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับข้างขึ้น ข้างแรม โดยอาจใช้

สถานการณ์หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่าง ๆเช่นรูปภาพ วีดิทัศน์

345

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓