การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๓. การที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ได้
ดาวเคราะห์ต้องมีอัตราเร็วในการโคจรที่
สัมพันธ์กับแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์นั้น
กับดวงอาทิตย์ กล่าวคือกำ�ลังสองของอัตราเร็ว
ในการโคจรแปรผกผันกับระยะห่างระหว่าง
ดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยการจัดกระทำ�และนำ�เสนอเกี่ยวกับ
ขนาดของแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์
แต่ละดวงในระบบสุริยะกับดวงอาทิตย์
การทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลม
๒. ทักษะการ ใช้จำ �นวน โดยการคำ �นวณ
แร ง โ น้มถ่ว ง ร ะหว่ า ง ดา ว เ คร า ะห์และ
ดวงอาทิตย์จากสมการแรงโน้มถ่วง
๓. ทั ก ษ ะ ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห็ น จ า ก ข้ อ มู ล
โดยการลงความเห็นเกี่ยวกับการที่โลกโคจร
รอบดวงอาทิตย์
๔. ทักษะการทดลอง โดยการทดลองการเคลื่อนที่
๔. นักเรียนร่วมกันคำ�นวณขนาดของแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์
แต่ละดวงในระบบสุริยะกับดวงอาทิตย์ โดยใช้ข้อมูลของดาวเคราะห์
ดวงอาทิตย์ และสมการแรงโน้มถ่วง โดยสืบค้นข้อมูลมวลและระยะห่าง
จากดวงอาทิตย์ของดาวแต่ละดวง จัดกระทำ�ข้อมูลและนำ�เสนอในรูปแบบ
ที่เข้าใจง่าย
๕. นักเรียนตีความหมายจากค่าแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์และ
ดวงอาทิตย์ที่คำ�นวณได้ เพื่อลงข้อสรุปว่า ดาวเคราะห์โคจรรอบ
ดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง ซึ่งแรงโน้มถ่วงเป็นสัดส่วนโดยตรงระหว่าง
ผลคูณของมวลของวัตถุทั้งสองและเป็นสัดส่วนผกผันกับกำ�ลังสองของ
ระยะทางระหว่างดาวเคราะห์นั้นกับดวงอาทิตย์ ดังนั้นดวงอาทิตย์จะดึงดูด
ดาวเคราะห์แต่ละดวงด้วยแรงที่แตกต่างกัน
๖. ครูให้นักเรียนทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลมโดยนำ�วัตถุผูก
กับปลายเชือกด้านหนึ่งแล้วแกว่งให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบ
ผู้สังเกต โดยเปลี่ยนความยาวเชือกและมวล สังเกต เปรียบเทียบอัตราเร็ว
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ครบ ๑ รอบ
๗. นักเรียนนำ�ผลการสังเกตมาจัดกระทำ�และนำ�เสนอ แล้วร่วมกันอภิปราย
เพื่อลงข้อสรุปว่า การที่วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมอยู่ได้จะต้องมีอัตราเร็วใน
การเคลื่อนที่ค่าหนึ่งและแรงที่มือดึงวัตถุไว้เปรียบเสมือนแรงโน้มถ่วงโดย
วัตถุที่อยู่ใกล้ผู้สังเกตจะมีอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ครบรอบมากกว่าวัตถุที่
อยู่ไกลออกไป
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยการจัดกระทำ�และนำ�เสนอเกี่ยวกับ
ขนาดของแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์แต่ละ
ดวงในระบบสุริยะกับดวงอาทิตย์ การทดลอง
การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลม ได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของ
ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
๒. ประเมินทักษะการใช้จำ�นวน จากการคำ�นวณ
แรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์จาก
สมการแรงโน้มถ่วงได้อย่างถูกต้อง
๓. ทั ก ษ ะ ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห็ น จ า ก ข้ อ มู ล จ า ก
การลงความเห็นเกี่ยวกับการมีอยู่ของแรงดึงดูด
ระหว่างดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ ที่ทำ�ให้ดาว
เคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ได้ ได้อย่างสมเหตุ
สมผล
340