การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
๑. ในระบบสุริยะของเรามีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางมีบริวาร
เป็น ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย
ดาวหาง และบริวารอื่นๆ เช่น วัตถุคอยเปอร์ ซึ่งดาวเคราะห์
และวัตถุเหล่านี้โคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง
๒. แรงโน้มถ่วงเป็นแรงดึงดูดระหว่างวัตถุโดยสามารถคำ�นวณ
แรงดึงดูดระหว่างวัตถุสองวัตถุได้โดยใช้สมการ
F = Gm₁ m₂ / r
2
เมื่อ F คือแรงโน้มถ่วง
G คือค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล =
6.672 x 10
- ¹¹
N.m
²
Kg
- ²
m
1
คือมวลของวัตถุที่ ๑
m
2
คือมวลของวัตถุที่ ๒
r คือระยะห่างระหว่างวัตถุทั้งสอง
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับ
การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ โดยอาจใช้
สถานการณ์หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่าง ๆ เช่นรูปภาพ วีดิทัศน์
๒. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ได้
อย่างไร ซึ่งนักเรียนอาจลงความเห็นได้แตกต่างกันตามความ
รู้เดิมของตนเอง
๓. นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
โดยควรสรุปได้ว่าแรงโน้มถ่วงทำ�ให้โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
ซึ่งแรงโน้มถ่วงระหว่างสองวัตถุสามารถคำ�นวณได้ดังสมการ
F = Gm₁ m₂ / r
2
เมื่อ F คือแรงโน้มถ่วง
G คือค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล
= 6.672 x 10
- ¹¹
N.m
²
Kg
- ²
m
1
คือมวลของวัตถุที่ ๑
m
2
คือมวลของวัตถุที่ ๒
r คือระยะห่างระหว่างวัตถุทั้งสอง
ด้านความรู้
อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วย
แรงโน้มถ่วงจากสมการ F = Gm₁ m₂ / r
2
339
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
ตัวชี้วัด
๑. อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วงจากสมการ F = (Gm₁m₂) / r
2