Table of Contents Table of Contents
Previous Page  84 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 84 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกรายละเอียด

เกี่ยวกับรูปร่างลักษณะและโครงสร้างของเซลล์ได้

ครบถ้วนตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่มความคิดเห็น

ส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก

การนำ�ผลการสังเกตลักษณะและโครงสร้างของ

เซลล์พืช เซลล์สัตว์ และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มาลง

ข้อสรุปเกี่ยวกับเซลล์ รวมทั้งเปรียบเทียบลักษณะ

ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้อย่างสมเหตุสมผล

๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมา

นำ�เสนอด้วยรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจ

ความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ

ถูกต้อง

๔. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากแบบจำ�ลอง

ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงสร้าง

ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

๓. วิธีการใช้และการดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์

ใช้แสงเพื่อศึกษาเซลล์ตัวอย่าง ต้องมี

การปฏิบัติอย่างถูกต้องและเหมาะสม

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตเซลล์ที่เห็นจาก

กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง รวมทั้งบันทึกรูปร่าง

และโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ที่

สังเกตได้

๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยใช้

ข้อมูลจากการสังเกตสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

บางชนิดและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของพืชและ

สัตว์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง มาลงข้อสรุป

ว่าสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นหน่วยพื้นฐาน

โดยเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีโครงสร้างพื้น

ฐานเหมือนกันแต่มีรูปร่างและโครงสร้างบาง

อย่างที่ต่างกัน

๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมา

นำ�เสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนผัง ตาราง

หรือรูปภาพ

๔. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยการนำ�ข้อมูล

โครงสร้างของเซลล์ที่ได้จากการสังเกตและ

สืบค้นข้อมูลมาสร้างแบบจำ�ลองเซลล์พืช

และเซลล์สัตว์

๕. ครูกระตุ้นให้นักเรียนสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะและ

โครงสร้างของเซลล์ เพื่อนำ�ไปสู่การเปรียบเทียบรูปร่างลักษณะและ

โครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ จากตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เช่น

เซลล์ของใบสาหร่ายหางกระรอก เซลล์เยื่อหัวหอม เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม

๖. นักเรียนรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์จากการสังเกตเซลล์พืชและ

เซลล์สัตว์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง บันทึกผลการสังเกตโดยการวาดภาพ

หรือถ่ายภาพ

๗. นักเรียนเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างรูปร่าง

ลักษณะและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ที่ได้จากการสังเกต จาก

นั้นนำ�ภาพของเซลล์ที่สังเกตได้มาเปรียบเทียบกับแผนภาพโครงสร้างของ

เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ที่ครูกำ�หนดให้ เพื่อระบุชื่อโครงสร้างของเซลล์

บันทึกผล นำ�เสนอผลจากการสังเกตและเปรียบเทียบ

๘. นักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อลงข้อสรุปว่า เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มี

รูปร่างลักษณะที่แตกต่างกัน เซลล์พืชส่วนใหญ่มีลักษณะค่อนข้างเหลี่ยม

ส่วนเซลล์สัตว์มีลักษณะค่อนข้างกลม เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีโครงสร้าง

ที่เหมือนกัน ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส แต่เซลล์พืช

มีผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ ซึ่งไม่พบในเซลล์สัตว์

๙. ครูให้นักเรียนสังเกตโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ พร้อมทั้งสืบค้น

และรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับโครงสร้างและ

หน้าที่ของผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล

ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์

๑๐. นักเรียนรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสังเกตโครงสร้างของเซลล์ด้วย

กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและข้อมูลที่รวบรวมได้ มาอภิปรายร่วมกัน เพื่อ

สร้างแบบจำ�ลองของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ โดยอาจสร้างเป็นแบบ

จำ�ลอง ๓ มิติ หรือภาพกราฟิก นำ�เสนอและบรรยายหน้าที่ของผนังเซลล์

เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และ

คลอโรพลาสต์

74