Table of Contents Table of Contents
Previous Page  191 / 302 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 191 / 302 Next Page
Page Background

จากนั้นครูนำ�เข้าสู่เรื่องปฏิกิริยาแสงโดยใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า

เมื่อสารสี

ดูดกลืนแสง โมเลกุลของสารสีจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

โดยครูอาจใช้รูป 11.9 ในหนังสือเรียน

ประกอบการอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าโดยปกติสารสีมีอิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับสถานะพื้น โดยจะ

เคลื่อนที่อยู่รอบนิวเคลียส หากได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นจะถูกกระตุ้นให้ขึ้นไปอยู่ที่ระดับพลังงานสูงขึ้น

ซึ่งเป็นสถานะกระตุ้นและเป็นสถานะที่ไม่เสถียร จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมว่าอิเล็กตรอนในโมเลกุล

ของสารสีที่อยู่ในสถานะกระตุ้นนี้ เมื่อมีตัวรับอิเล็กตรอนที่เหมาะสมจะทำ�ให้เกิดการถ่ายทอด

อิเล็กตรอนซึ่งนำ�ไปสู่การเกิดปฏิกิริยาแสง

ชนิดของสารสีที่พบในสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ มีตัวอย่างดังแสดงในตาราง

ประเภทและ

ชนิดของสิ่งมีชีวิต

คลอโรฟิลล์

แคโรทีนอยด์ ไฟโคบิลิน

แบคเทอริโอ

คลอโรฟิลล์

เอ บี ซี ดี

เอ บี ซี ดี

ยูคาริโอต

มอส

+ + - -

+

-

- -

-

-

เฟิร์น

+ + - -

+

-

- -

-

-

พืชดอก

+ + - -

+

-

- -

-

-

สาหร่ายสีเขียว

+ + - -

+

-

- -

-

-

สาหร่ายสีน้ำ�ตาล

+ - + -

+

-

- -

-

-

สาหร่ายสีแดง

+ - - +

+

+

- -

-

-

โพรคาริโอต

ไซยาโนแบคทีเรีย

+ - - +

+

+

- -

-

-

กรีนแบคทีเรีย

- - - -

+

-

+ - + /- -/+

หมายเหตุ

เครื่องหมาย + หมายถึง มี

เครื่องหมาย - หมายถึง ไม่มี

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 11 | การสังเคราะห์ด้วยแสง

ชีววิทยา เล่ม 3

179