เมื่อเปรียบเทียบอัตราการตรึง CO
2
สุทธิของข้าวซึ่งเป็นพืช C
3
และอ้อยซึ่งเป็นพืช C
4
ที่ระดับ
ความเข้มข้นของ CO
2
ในอากาศ 200 600 และ 800 ppm ผลเป็นอย่างไร
อัตราการตรึง CO
2
สุทธิของอ้อยซึ่งเป็นพืช C
4
จะสูงกว่าข้าวซึ่งเป็นพืช C
3
ในช่วงที่มีความเข้มข้น
ของ CO
2
ต่ำ�ๆ เท่านั้น แต่เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ CO
2
ให้สูงขึ้น จะพบว่าอ้อยจะถึงจุดอิ่มตัว
ของ CO
2
เร็วกว่าข้าว โดยสามารถสรุปการเปรียบเทียบดังแสดงในตาราง
ความเข้มข้นของ CO
2
(ppm)
อัตราการตรึง CO
2
สุทธิ
200
อ้อย > ข้าว
600
ข้าว > อ้อย
800
ข้าว > อ้อย
ถ้าค่าอัตราการตรึง CO
2
สุทธิติดลบ หมายความว่าอย่างไร
CO
2
ที่ปล่อยออกมาจากการหายใจระดับเซลล์มีค่ามากกว่าCO
2
ที่ถูกตรึงในการสังเคราะห์ด้วยแสง
จากนั้นครูให้นักเ รียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับจุดอิ่มตัวของคาร์บอนไดออกไซด์และ
คาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์ และตอบคำ�ถามในหนังสือเรียนซึ่งมีแนวการตอบ ดังนี้
จากรูป 11.27 คาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์ของอ้อยและข้าวเป็นเท่าใด
คาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์ของอ้อยมีค่าประมาณ 20 µmol m
-2
s
-1
และ ข้าวมี
ค่าประมาณ 75 µmol m
-2
s
-1
ถ้านำ�พืชC
3
และพืชC
4
ใส่ในครอบแก้วเดียวกันที่ปิดสนิท ได้รับแสงและน้ำ�ในปริมาณที่พอเหมาะ
เมื่อพิจารณาค่าคาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์ พืชชนิดใดจะตายก่อน เพราะเหตุใด
พืช C
3
น่าจะตายก่อนพืช C
4
เพราะเมื่อพิจารณากราฟในรูป 11.27 ซึ่งเปรียบเทียบระหว่าง
ข้าวซึ่งเป็นพืช C
3
และอ้อยซึ่งเป็นพืช C
4
จะเห็นว่าคาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยต์
ของอ้อยต่ำ�กว่าข้าวมาก แสดงให้เห็นว่าในภาวะที่มีความเข้มข้นของ CO
2
ต่ำ� ข้าวซึ่งเป็น
พืช C
3
จะมีโฟโตเรสไพเรชันเกิดขึ้นมากกว่าอ้อยซึ่งเป็นพืช C
4
ดังนั้นถ้านำ�พืช C
3
และพืช C
4
ใส่ในครอบแก้วเดียวกันที่ปิดสนิท ซึ่งส่งผลให้ปริมาณ CO
2
มีจำ�กัด พืช C
4
จะสร้างอาหาร
เพื่อการดำ�รงชีวิตได้ดีกว่าพืช C
3
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 11 | การสังเคราะห์ด้วยแสง
ชีววิทยา เล่ม 3
215