กลุ่มของดอก
(ตัวแทนของชนิดดอก)
จำ�นวนดอกบน
ก้านดอก
ส่วนประกอบที่เป็นโครงสร้างหลัก
จำ�นวนเกสร
จำ�นวนรังไข่
ในแต่ละดอก
ตำ�แหน่ง
รังไข่
ดอก
เดี่ยว ดอกช่อ กลีบ
เลี้ยง
กลีบ
ดอก
เกสร
เพศผู้
เกสร
เพศเมีย เพศผู้ เพศเมีย
6 (ฟักทอง )
(แยก
ดอก)
(แยก
ดอก)
มาก 1
1
ใต้วงกลีบ
7 (ทานตะวัน)
5 1
1
ใต้วงกลีบ
8 (พุทธรักษา)
1
(4)*
1
1
ใต้วงกลีบ
* พุทธรักษามีเกสรเพศผู้ 1 อัน และเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 4 อัน
2. จำ�แนกประเภทของดอกโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ได้ดังนี้
2.1 เกณฑ์จำ�นวนดอกบนก้านดอก
- ดอกเดี่ยว เช่น กะดังงา พริก ฟักทอง
- ดอกช่อ เช่น กล้วยไม้ หางนกยูงไทย เข็ม ทานตะวัน
2.2 เกณฑ์จำ�แนกตามส่วนประกอบ
- ดอกสมบูรณ์ เช่น บัวหลวง มะเขือ พริก
- ดอกไม่สมบูรณ์ เช่น ฟักทอง ตำ�ลึง บวบ
2.3 เกณฑ์ตำ�แหน่งรังไข่
- รังไข่เหนือวงกลีบ เช่น หางนกยูงไทย จำ�ปี มะเขือ พริก บัวหลวง
- รังไข่ใต้วงกลีบ เช่น กล้วยไม้ ฟักทอง ทานตะวัน พุทธรักษา
เฉลยคำ�ถามท้ายกิจกรรม
จำ�นวนเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียในดอกแต่ละชนิดมีจำ�นวนเท่ากันหรือแตกต่างกัน
อย่างไร
มีทั้งที่เท่ากันและแตกต่างกัน เช่น
- มะเขือและทานตะวันมีเกสรเพศผู้ 5 อัน ซึ่งแตกต่างจากกล้วยไม้สกุลหวายที่มีเกสร
เพศผู้ 1 อันและฟักทองที่มีเกสรเพศผู้จำ�นวนมาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 8 | การสืบพันธุ์ของพืชดอก
ชีววิทยา เล่ม 3
14