Table of Contents Table of Contents
Previous Page  134 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 134 / 284 Next Page
Page Background

โดยปกติ สาร A จะสลายตัวได้เองอย่างช้าๆ แต่สามารถเร่งปฏิกิริยาการสลายสาร A ได้โดยใช้

เอนไซม์ ในการทดลองหนึ่งที่ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาการสลายสาร A ในขณะที่มีและไม่มี

เอนไซม์ได้ผลดังกราฟ

เส้นกราฟใดที่แสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาการสลายสาร A ในขณะที่ไม่มีเอนไซม์

เส้นกราฟ ค

เพราะเหตุใดที่ตำ�แหน่ง P และ Q อัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงเริ่มคงที่

เพราะที่ตำ�แหน่ง P และ Q เป็นตำ�แหน่งที่เอนไซม์ทุกโมเลกุลจับกับสาร A ทำ�ให้อัตรา

การเกิดปฏิกิริยาจึงเริ่มคงที่

เพราะเหตุใดเส้นกราฟ ก จึงมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่าเส้นกราฟ ข

เส้นกราฟ ก และ ข ต่างเป็นผลการทดลองที่แสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาการสลาย

สาร A ในขณะที่มีเอนไซม์ แต่เส้นกราฟ ก มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่าเส้นกราฟ ข

เนื่องจากการทดลองของเส้นกราฟ ก ใช้ความเข้มข้นของเอนไซม์สูงกว่าการทดลองของ

เส้นกราฟ ข

กรณีศึกษา

P

Q

ข.

ความเข้มข้นของสาร A

อัตราการเกิดปฏิกิริยา

อธิบายตามความเข้าใจ และให้สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ จากนั้นครูและนักเรียนร่วม

กันสรุปเพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการทำ�งานของเอนไซม์

ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับปริมาณของสารตั้งต้นและปริมาณของเอนไซม์ที่มีผลต่ออัตราการ

เกิดปฏิกิริยาโดยใช้รูป 2.42 ในหนังสือเรียน และอาจให้ตอบคำ�ถามในกรณีศึกษา โดยมีแนวคำ�ตอบดังนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 2 | เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

ชีววิทยา เล่ม 1

122