7.5 จากข้อมูลในตารางให้วาดกราฟและอธิบายผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ช่วงอุณหภูมิ 0-10ºC ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่ต่ำ�กว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการทำ�งานของ
อะไมเลส อะไมเลสจึงทำ�งานได้ไม่ดี อัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงต่ำ� เมื่ออุณหภูมิค่อยๆ
เพิ่มขึ้นเป็น 20-30º C แต่ยังคงไม่ถึงช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการทำ�งานของ
อะไมเลส อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเริ่มสูงขึ้น เนื่องจากอะไมเลสเริ่มทำ�งานได้ดีขึ้น
และอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะสูงที่สุด เมื่อถึงอุณหภูมิ 40ºC ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่
เหมาะสมต่อการทำ�งานของอะไมเลสมากที่สุด อะไมเลสจึงทำ�งานได้ดีที่สุด แต่เมื่อ
เพิ่มอุณหภูมิขึ้นจนถึง 50-60ºC ซึ่งสูงเกินกว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการทำ�งาน
ของอะไมเลส อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเริ่มลดต่ำ�ลง และเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นจนถึง
70ºC ที่อุณหภูมินี้ ทำ�ให้อะไมเลสเสียสภาพจนไม่สามารถทำ�งานได้ ปฏิกิริยาจึงหยุดลง
8. ถ้ากำ�หนดให้ succinic acid ทำ�หน้าที่เป็นสารตั้งต้นของปฏิกิริยาหนึ่งซึ่งมีเอนไซม์
succinate dehydrogenase เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา โดย succinic acid มีสูตรโครงสร้างดังนี้
สารใดต่อไปนี้มีความเป็นไปได้มากที่สุดที่จะเป็นตัวยับยั้งแบบแข่งขันที่จะไปแย่งจับที่
บริเวณเร่ง ของเอนไซม์ succinate dehydrogenase ทำ�ให้สารตั้งต้นไม่สามารถจับกับเอนไซม์
ได้ จงอธิบายพร้อมให้เหตุผลประกอบด้วย
C
C
HO
O
O
CH
2
OH
CH
2
1.2
1
0.8
0.6
0.4
0.2
0
10
อัตราการย่อยแป้ง (มวล/เวลา)
อุณหภูมิ (ºC)
20 30 40 50 60 70 80
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 2 | เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ชีววิทยา เล่ม 1
143