Table of Contents Table of Contents
Previous Page  156 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 156 / 284 Next Page
Page Background

สาร ง. เพราะตัวยับยั้งแบบแข่งขันเป็นตัวยับยั้งเอนไซม์ที่แย่งสารตั้งต้นจับกับเอนไซม์

ที่บริเวณเร่ง โดยถ้าจะจับกับบริเวณเร่งได้ ก็ควรจะต้องมีสูตรโครงสร้างที่ใกล้เคียงกับ

สารตั้งต้นมากที่สุด เพื่อให้สามารถจับกันที่บริเวณเร่งเหมือนกันได้ ซึ่งสาร ง.

มีสูตรโครงสร้างใกล้เคียงมากที่สุด เพราะมีหมู่ฟังก์ชัน carboxylic group 2 หมู่

อยู่ปลายสุดของโมเลกุลเช่นเดียวกับ succinic acid ที่กำ�หนดให้

9. ไซยาไนด์เป็นสารพิษที่สามารถจับกับเอนไซม์ cytochrome C oxidase ที่ทำ�หน้าที่ใน

การถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยังออกซิเจนในกระบวนการหายใจระดับเซลล์เพื่อสร้างพลังงาน

จากแผนภาพจงอธิบายว่าไซยาไนด์ส่งผลต่อการทำ�งานของเอนไซม์และร่างกายอย่างไร

ไซยาไนด์เป็นตัวยับยั้งแบบไม่แข่งขันจับกับเอนไซม์ในตำ�แหน่งที่ไม่ใช่บริเวณเร่ง ทำ�ให้

โครงสร้างของบริเวณเร่งของเอนไซม์เปลี่ยนไป สารตั้งต้นจึงไม่สามารถจับกับบริเวณเร่งได้

ดังนั้นเอนไซม์จึงไม่สามารถทำ�งานในการถ่ายทอดอิเล็กตรอนสู่ตัวรับอิเล็กตรอนได้ ทำ�ให้

ไม่เกิดการสร้างสารพลังงานสูง ส่งผลต่อการทำ�งานของทุกเซลล์โดยเฉพาะในระบบ

ประสาทและระบบหายใจอาจทำ�ให้เสียชีวิตได้

C

C

C

C

C

C

C

C

H

HO

H

2

N

H

3

CO

O

O

O

O

O

O

O

O

CH

2

CH

2

CH

2

CH

2

H

OH

NH

2

สาร ก.

สาร ค.

สาร ข.

สาร ง.

OCH

3

เอนไซม์

ไซยาไนด์

สารตั้งต้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 2 | เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

ชีววิทยา เล่ม 1

144