Table of Contents Table of Contents
Previous Page  212 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 212 / 284 Next Page
Page Background

ซากดึกดำ�บรรพ์ไดโนเสาร์

เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2553 ที่ห้องประชุม

พิพิธภัณฑ์สิรินธร ภูกุ้มข้าว อ.สหัสขันธ์

จ.กาฬสินธุ์ ได้มีการเปิดโครงการครูวิจัย

ซากดึกดำ�บรรพ์ รุ่นที่ 5 โดย ดร.วราวุธ สุธีธร

ผู้ เ ชี่ยวชาญด้านซากดึกดำ �บรรพ์ กรม

ท รั พ ย า ก ร ธ ร ณี แ ถ ล ง ผ ล ก า ร ขุ ด ค้ น

ซากดึกดำ�บรรพ์ที่ภูน้อย

อ.ค

ำ�ม่วง ว่า ก่อนหน้า

นี้ได้ขุดค้นซากดึกดำ�บรรพ์ไดโนเสาร์ที่ภูน้อย

ได้ 64 ชิ้น โดยเฉพาะกระดูกสะโพกที่มี

ความยาว 150 เซนติเมตร กว้าง 50 เซนติเมตร

ทำ�ให้เชื่อว่าเป็นซากดึกดำ�บรรพ์ที่ใหญ่ที่สุดใน

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขนาดความยาวกว่า

25 เมตร ทั้งนี้ผลการขุดค้นก้าวหน้ามาก

นักวิจัยรวบรวมซากดึกดำ�บรรพ์ได้มากกว่า

200 ชิ้น เมื่อนำ�มาวิจัยพบว่า ในหลุมขุดค้น

เป็นซากดึกดำ�บรรพ์ที่มีมากกว่า 2 ตัว มี

ลักษณะนอนทับถมคล้ายที่ภูกุ้มข้าว แต่สิ่งที่

นับว่าพิเศษสุดคือ ชิ้นส่วนของหัวกะโหลก

ขนาดความยาวเกือบ 50 เซนติเมตร กับฟัน

จำ �นวน 3 - 4 ซี่ ซึ่งยัง ไม่พบว่าตร งกับ

สายพันธุ์กินพืชที่ใดในโลก จึงยืนยันได้ว่า

ซากดึกดำ�บรรพ์ที่พบบริเวณภูน้อยมีอายุเก่า

แก่มากกว่า 150 ล้านปี หรือในยุคจูลาสสิค

ตอนปลาย

น า ย อ ดิ ศั ก ดิ์ ทอ ง ไ ข่มุ ก ต์ อธิบดีก ร ม

ทรัพยากรธรณีกล่าวว่ามั่นใจว่าซากดึกดำ�บรรพ์

ที่พบบริเวณภูน้อย จะเป็นสายพันธุ์กินพืช

ขนาดใหญ่ที่เป็นสกุลใหม่และยังไม่พบที่ใดในโลก

จากนี้จะมีการจัดสร้างอาคารคลุมหลุม

ไดโนเสาร์ และร่วมพัฒนาให้เป็นแหล่งศึกษา

และวิจัยค้นคว้างานทางด้านการวิจัยด้าน

บรรพชีวิน นายเลิศบุศย์ กองทอง นายอำ�เภอ

คำ�ม่วงกล่าวว่า อำ�เภอและท้องถิ่นจะร่วมกัน

ผลักดันเข้าแผนพัฒนาจังหวัดกาฬสินธุ์ พัฒนา

แหล่งขุดค้นให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว หาก

ประสบผลสำ�เร็จจังหวัดกาฬสินธุ์จะเป็นแหล่ง

ศึกษาวิจัยและการท่องเที่ยวด้านบรรพชีวินที่

สำ�คัญแห่งหนึ่งของโลก

ที่มา : ผู้จัดการออนไลน์ 6 เมษายน 2553

http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.

aspx?NewsID=9530000047718

ซีลาแคนธ์

ชาวประมงอินโดนีเซียจับ "ซีลาแคนธ์" ปลา

ดึกดำ�บรรพ์ที่เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุค

ไดโนเสาร์ คาดอาจเป็นบรรพบุรุษสัตว์มี

กระดูกสันหลัง แต่น่าฉงนใจที่ปลาน้ำ�ลึก

สามารถอยู่ได้นานบนผิวน้ำ�หลังถูกจับได้ถึง 17

ชั่วโมง ยูสตินูส ลาฮามา (Yustinus Lahama)

ชาวประมงอินโดนีเซียพร้อมลูกชายจับปลา

หน้าตาประหลาดยาว 131 เซนติเมตร หนัก

51 กิโลกรัม ได้เมื่อวันที่ 19 พ.ค. ที่ผ่านมา

ขณะที่พวกเขาออกหาปลาแถวเกาะสุลาเวสี

ใกล้อุทยานทางทะเลของบูนาเคน (Bunaken

National Marine Park) ซึ่งเป็นเขตที่มีความ

หลากหลายทางชีวภาพทางน้ำ�สูงสุดแห่งหนึ่ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 7 | วิวัฒนาการ

ชีววิทยา เล่ม 2

200