ครูควรให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียนด้วยว่าในการคาดคะเนลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอดีตนั้น
นักวิทยาศาสตร์ต้องใช้ข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ เช่น ร่องรอย สภาพแวดล้อมของโลกในยุคนั้น
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับหน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต เป็นต้น
มาประกอบกับข้อมูลของซากดึกดำ�บรรพ์จึงสามารถคาดคะเนลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้นได้
สำ�หรับแนวคำ�ตอบของคำ�ถามวิเคราะห์ข้อมูลในหนังสือเรียนเป็นดังนี้
นำ�ข้อมูลด้านบนมาเขียนเป็นกราฟ
จากข้อมูลข้างต้น แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการได้อย่างไร
ซากดึกดำ�บรรพ์ที่พบในชั้นหินลึกจะมีอายุมากกว่าซากดึกดำ�บรรพ์ที่พบในชั้นหินตื้น ดังนั้น
จากกราฟจึงแสดงให้เห็นวิวัฒนาการของไทรโลไบท์ว่ามีแนวโน้มที่มีความยาวเพิ่มมากขึ้น
กรณีศึกษา
30
25
20
ความยาวของซากดึกดำ�บรรพ์ (cm)
ชั้นหินตื้น
ชั้นหินลึก
15
10
3
5
7
9
3.5
5.5
7.5
4
6
8
4.5
6.5
8.5
5
0
จากนั้นครูอาจให้นักเรียนทำ�กิจกรรมเสนอแนะเพื่อสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับซากดึกดำ�บรรพ์ของ
สิ่งมีชีวิตที่ค้นพบทั้งในประเทศไทย หรือต่างประเทศ
จำ�นวนซากดึกดำ�บรรพ์ที่พบ (ตัว)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 7 | วิวัฒนาการ
ชีววิทยา เล่ม 2
204