Table of Contents Table of Contents
Previous Page  235 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 235 / 284 Next Page
Page Background

จุดประสงค์

คำ�นวณหาความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์โดยใช้หลักการของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก

เวลาที่ใช้ (โดยประมาณ)

20 นาที

แนวการตอบกิจกรรม

1. ในพื้นที่แห่งหนึ่งมีประชากรจำ�นวน 400 คน ถ้าประชากรนี้มีความถี่ของแอลลีล

A

= 0.6

และแอลลีล

a

= 0.4 และอยู่ในสมดุลฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก จงหาจำ�นวนคนที่มีจีโนไทป์แบบต่างๆ

ประชากรที่มีจีโนไทป์

AA

หรือ

p

2

= 0.6 x 0.6

= 0.36

ดังนั้นมีจำ�นวนประชากรที่มีจีโนไทป์

AA

= 0.36 x 400 = 144 คน

ประชากรที่มีจีโนไทป์

Aa

หรือ 2

pq

= 2 x 0.6 x 0.4 = 0.48

ดังนั้นมีจำ�นวนประชากรที่มีจีโนไทป์

Aa

= 0.48 x 400 = 192 คน

ประชากรที่มีจีโนไทป์

aa

หรือ

q

2

= 0.4 x 0.4

= 0.16

ดังนั้นมีจำ�นวนประชากรที่มีจีโนไทป์

aa

= 0.16 x 400 = 64 คน

2. ลักษณะหมู่เลือด Rh เป็นลักษณะที่ควบคุมโดยยีน 1 โลกัส บนออโตโซมมี 2 แอลลีล มีการ

แสดงออกแบบเด่นสมบูรณ์ ลักษณะเลือดหมู่ Rh

-

เป็นลักษณะด้อย (

dd

) ในประชากรกลุ่ม

หนึ่งพบว่า มีประชากรเลือดหมู่ Rh

-

อยู่ 16% เมื่อประชากรนี้อยู่ในสมดุลฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก

จงคำ�นวณหาความถี่ของแอลลีลในประชากร

เลือดหมู่ Rh

-

เป็นลักษณะด้อยจึงมีความถี่ของจีโนไทป์

dd

เท่ากับ

q

2

= 16

100 = 0.16

ดังนั้นความถี่ของแอลลีล

d

ในประชากรเท่ากับ 0.4

ขณะที่ความถี่ของแอลลีล

D

ในประชากรเท่ากับ 1 - 0.4 = 0.6

3. ประชากรของหนู ณ ทุ่งหญ้าแห่งหนึ่ง อยู่ในสมดุลฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก พบว่าประชากรหนู

ร้อยละ 36 มีขนสีเทาซึ่งเป็นฮอมอไซกัสรีเซสสีฟ (

bb

) ส่วนหนูที่เหลือมีขนสีดำ�ซึ่งเป็น

ลักษณะเด่น

กิจกรรม 7.1 การใช้หลักการของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 7 | วิวัฒนาการ

ชีววิทยา เล่ม 2

223