ความถี่ของแอลลีลสามารถคำ�นวณได้จาก
ความถี่ของจีโนไทป์ คือ จำ�นวนสมาชิกที่มีจีโนไทป์แต่ละแบบของยีนที่ต้องการศึกษาเมื่อคิด
เป็นสัดส่วนหรือร้อยละต่อจำ�นวนสมาชิกทั้งหมดในประชากรนั้น จากตัวอย่างของประชากรไม้ดอกที่
กล่าวข้างต้น
ความถี่ของจีโนไทป์ สามารถคำ�นวณได้ดังนี้
ครูอาจให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ต่อไปว่า
ความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์ใน
ประชากรนี้จะมีค่าเท่าเดิมหรือไม่ในชั่วรุ่นต่อ ๆ ไป หรือจะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ ถ้ามี
การเปลี่ยนแปลงจะเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง
จากนั้นให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหลักการของ
ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ในหัวข้อ 7.3.2
7.3.2 หลักการของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก
ครูอาจให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพื่อศึกษาเกี่ยวกับหลักการของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กจากหนังสือเรียน
และจากตัวอย่างของประชากรไม้ดอกในหนังสือเรียน และอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ถ้าประชากรใด
มีลักษณะเป็นไปตามเงื่อนไขของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์ใน
ประชากรจะมีค่าคงที่ในทุกๆ ชั่วรุ่น
ความถี่ของแอลลีล
R
= จำ�นวนแอลลีล
R
= 1,280 + 320 = 1,600 = 0.8
ความถี่ของแอลลีล
r
= จำ�นวนแอลลีล
r
= 320 + 80 = 400 = 0.2
จำ�นวนแอลลีลทั้งหมด
จำ�นวนแอลลีลทั้งหมด
2,000
2,000
2,000
2,000
ความถี่ของจีโนไทป์
RR
ความถี่ของจีโนไทป์
Rr
ความถี่ของจีโนไทป์
rr
จำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
จำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
จำ�นวนสมาชิกทั้งหมด
1,000
1,000
1,000
=
=
=
=
=
=
=
=
=
จำ�นวนสมาชิกที่มีจีโนไทป์
RR
จำ�นวนสมาชิกที่มีจีโนไทป์
Rr
จำ�นวนสมาชิกที่มีจีโนไทป์
rr
640 0.64
320 0.32
40 0.04
บทความสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 7 | วิวัฒนาการ
ชีววิทยา เล่ม 2
221