Table of Contents Table of Contents
Previous Page  163 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 163 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๖. นักเรียนยกตัวอย่างสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่พบ

ในท้องถิ่นเพิ่มเติมจากที่ครูเตรียมไว้

๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปได้ว่าสัตว์มีหลายชนิด บางชนิด

มีโครงสร้างเหมือนกัน บางชนิดมีโครงสร้างแตกต่างกัน เมื่อใช้การมี

กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ จะจำ�แนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและ

สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต

โครงสร้างของสัตว์ การนำ�เสนอ และ

การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจำ�แนก

สัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์

ไม่มีกระดูกสันหลัง

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ

ผลการจัดกลุ่มสัตว์ จากข้อมูลที่ได้จาก

การสังเกตโครงสร้างภายนอกและโครงสร้าง

ภายในของสัตว์ชนิดต่าง ๆ

๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย

การวิเคราะห์และเปรียบเทียบความเหมือน

และความแตกต่างของโครงสร้างของสัตว์

ชนิดต่าง ๆ และนำ�ผลการวิเคราะห์มา

กำ�หนดเกณฑ์ในการจำ�แนก และจำ�แนก

สัตว์เป็น กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์

ไม่มีกระดูกสันหลัง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม จากการสังเกตโครงสร้างของสัตว์ การนำ�

เสนอ และการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการ

จำ�แนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์

ไม่มีกระดูกสันหลัง ร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจน

สำ�เร็จลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผล

การจัดกลุ่มสัตว์ โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต

โครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของสัตว์

ชนิดต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน

และถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก

การวิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของ

โครงสร้างสัตว์ชนิดต่าง ๆ และนำ�ผลการวิเคราะห์

มากำ�หนดเกณฑ์ในการจำ�แนก และจำ�แนกสัตว์เป็น

กลุ่มสัตว์มีกระดูก สันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูก

สันหลังได้อย่างสมเหตุสมผล

153

วิทยาศาสตร์

ประถมศึกษาปีที่ ๔