Table of Contents Table of Contents
Previous Page  183 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 183 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ด้านความรู้

ฮอร์โมนเพศเป็นสารเคมีที่ผลิตจากอัณฑะของ

เพศชายและรังไข่ของเพศหญิง โดยฮอร์โมน

เพศชายที่สำ�คัญ คือ ฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน

ทำ�หน้าที่ควบคุมการเกิดลักษณะเพศชาย และ

ฮอร์โมนเพศหญิงที่สำ�คัญ คือเอสโตรเจน และ

โพรเจสเทอโรน ทำ�หน้าที่ควบคุมการเกิด

ลักษณะเพศหญิง

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยการนำ�

ข้อมูลที่รวบรวมได้ มาอธิบายผลของฮอร์โมนที่

มีต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมกันในการสืบค้น

ข้อมูล นำ�เสนอผลของฮอร์โมนเพศต่อการ

เปลี่ยนแปลงของร่างกาย

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ

ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล

เกี่ยวกับฮอร์โมนเพศ

ด้านความรู้

อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคุม

การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยการนำ�

ข้อมูลที่รวบรวมได้ จากการอธิบายผลของฮอร์โมนที่มี

ต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายได้อย่างสมเหตุสมผล

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น

ทีม จากการทำ�งานร่วมกับผู้อื่นในการสืบค้นข้อมูล

นำ�เสนอผลของฮอร์โมนเพศต่อการเปลี่ยนแปลงของ

ร่างกาย ตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ

ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ

ฮอร์โมนเพศ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว

ชัดเจน และถูกต้อง

ผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิง

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนสงสัยในเรื่องฮอร์โมนเพศ โดยใช้วิธีการต่าง ๆ

เช่น สังเกตการเปลี่ยนแปลงร่างกายของผู้ชายและผู้หญิง ขณะเข้าสู่วัย

หนุ่มสาว

๒. นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย

ชายและหญิงขณะเข้าสู่วัยหนุ่มสาว เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ

ฮอร์โมนเพศชายและฮอร์โมนเพศหญิง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น หนังสือ

อินเทอร์เน็ต

๓. นักเรียนสืบค้นและรวบรวมข้อมูล นำ�เสนอผล และร่วมกันอภิปราย

เพื่อลงข้อสรุปว่า ฮอร์โมนเพศ ทำ�หน้าที่ควบคุมการแสดงออกของลักษณะ

ที่แตกต่างกันระหว่างเพศหญิงและเพศชายโดยฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน

จะทำ�หน้าที่ควบคุมลักษณะของเพศชาย เช่น เสียงแตก ไหล่กว้าง มีหนวด

มีขนขึ้นบริเวณรักแร้ หน้าแข้ง และอวัยวะเพศ ส่วนฮอร์โมนเอสโตรเจน

ควบคุมลักษณะของเพศหญิง เช่น สะโพกผาย การขยายของเต้านม การมี

ประจำ�เดือน ขนขึ้นบริเวณรักแร้และอวัยวะเพศ ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน มี

หน้าที่ช่วยทำ�ให้เกิดการมีประจำ�เดือน และช่วยในการตั้งครรภ์

173

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒