การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ความต้องการน้ำ�มากขึ้น การเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำ� และการใช้
ประโยชน์จากพื้นที่ เช่น ทางด้านการเกษตร
อุตสาหกรรม ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ส่งผลกระทบ
ต่อปริมาณและคุณภาพของแหล่งน้ำ�
๒. การจัดการน้ำ�อย่างยั่งยืน เป็นวิธีการบริหาร
จัดการเพื่อให้ทรัพยากรน้ำ�มีใช้อย่างทั่วถึง
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด มีความสมดุลทั้ง
ปริมาณและคุณภาพ ซึ่งในการพัฒนาและ
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรน้ำ�ต้องทำ�ควบคู่
กับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้มีความยั่งยืน
อาจทำ�ได้โดยการจัดหาแหล่งน้ำ�เพื่อให้มี
แหล่งน้ำ�เพียงพอสำ�หรับการดำ�รงชีวิต การ
จัดสรรและการใช้น้ำ�อย่างมีประสิทธิภาพ
การอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำ� การป้องกัน
และแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำ�
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยจัดกระทำ�และนำ�เสนอข้อมูล
แนวทางการแก้ปัญหาการใช้น้ำ�ในท้องถิ่น
อย่างยั่งยืน
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล จากการนำ�เสนอข้อมูลแนวทางการแก้ปัญหา
การใช้น้ำ� ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และช่วย
ให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
ชัดเจน และถูกต้อง
๒. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์การใช้น้ำ�จากแหล่งน้ำ�ผิวดิน
และแหล่งน้ำ�ใต้ดิน อภิปรายเกี่ยวกับปัญหา สาเหตุของปัญหา และผล
กระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้น้ำ� เพื่อลงข้อสรุปว่า มนุษย์ใช้ประโยชน์จาก
แหล่งน้ำ�ผิวดินและแหล่งน้ำ�ใต้ดินในกิจกรรมต่าง ๆ
๓. ให้วิเคราะห์สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงจำ�นวนประชากร แล้วร่วมกัน
อภิปรายว่า การเพิ่มขึ้นของประชากรมีผลต่อการใช้ทรัพยากรน้ำ�อย่างไร
เพื่อลงข้อสรุปว่า การเพิ่มขึ้นของประชากรทำ�ให้มีปัญหาเกี่ยวกับการใช้
น้ำ�ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
๔. นักเรียนสืบค้นและวิเคราะห์ปัญหาการใช้น้ำ�ในท้องถิ่นของตนเอง และ
แนวทางการแก้ปัญหาการใช้น้ำ�ในท้องถิ่น โดยอาจใช้โครงการการ
จัดการน้ำ�ของภาครัฐเป็นตัวอย่างในการวิเคราะห์ โดยจัดกระทำ�และ
นำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบที่น่าสนใจ ซึ่งนักเรียนอาจพบว่า การเพิ่มขึ้น
ของประชากรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งทำ�ให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงปริมาณฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำ� ทำ�ให้แหล่งน้ำ�ผิวดินไม่เพียงพอ
ในการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ น้ำ�จากแหล่งน้ำ�ใต้ดินจึงถูกนำ�มาใช้
มากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณน้ำ�ใต้ดินไม่เพียงพอต่อความต้องการ นอกจาก
นี้คุณภาพของแหล่งน้ำ�ผิวดินและแหล่งน้ำ�ใต้ดินเริ่มมีคุณภาพต่ำ�กว่า
มาตรฐาน อันเนื่องมาจากได้รับของเสีย น้ำ�เสียและสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ที่
ระบายและแทรกซึมมาจากการใช้น้ำ�ในชุมชน จากแหล่งทิ้งขยะ จาก
โรงงานอุตสาหกรรม จากการเกษตรกรรมและอื่นๆ
260