การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร โดยการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
เพื่ออธิบายกระบวนการเกิดแหล่งน้ำ�ผิวดิน
และปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดแหล่งน้ำ�ผิวดินใน
ลักษณะต่าง ๆ
ด้านความรู้
๑. แหล่งน้ำ�ใต้ดินเกิดจากการซึมของน้ำ�ผิวดิน
ลงไปสะสมตัวใต้ผิวโลก ซึ่งแบ่งเป็นน้ำ�ในดิน
และน้ำ�บาดาล น้ำ�ในดินเป็นน้ำ�ที่อยู่ตามช่อง
ว่างระหว่างเม็ดดิน เป็นชั้นที่ไม่อิ่มตัวด้วย
น้ำ� ส่วนน้ำ�บาดาลเป็นน้ำ�ที่ไหลซึมลึกลงไป
และถูกกักเก็บไว้ในชั้นหินหรือชั้นดินจน
อิ่มตัวไปด้วยน้ำ�
๒. สมบัติของตะกอนและหิน ที่มีผลต่อ
การกักเก็บแหล่งน้ำ�ใต้ดิน ได้แก่ รูปร่าง
การเรียงตัวของตะกอน การคัดขนาดของ
ตะกอน ซึ่งมีผลต่อขนาดช่องว่างระหว่าง
ตะกอนหรือช่องว่างในหิน ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
ปริมาณน้ำ�ที่ถูกกักเก็บหรือปล่อยออกมา
จากชั้นหินอุ้มน้ำ�
๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการ
เกิดแหล่งน้ำ�ผิวดินและปัจจัยที่ส่งผลทำ�ให้แหล่งน้ำ�
ผิวดินมีการเปลี่ยนแปลง จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ
ได้ และมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น
ด้านความรู้
๑. อธิบายกระบวนการเกิดแหล่งน้ำ�ใต้ดิน
๒. อธิบายปัจจัยที่ส่งผลต่อแหล่งน้ำ�ใต้ดิน
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับลักษณะของแหล่ง
น้ำ�ใต้ดิน โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่าง ๆ เช่น รูปภาพ
วีดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดแหล่ง
น้ำ�ใต้ดิน
๒. นักเรียนสืบค้นข้อมูล ศึกษาวีดิทัศน์ หรือศึกษาแผนภาพ กระบวนการเกิด
แหล่งน้ำ�ใต้ดิน เพื่อนำ�ไปสู่การสร้างแบบจำ�ลองเพื่ออธิบายกระบวนการ
เกิดแหล่งน้ำ�ใต้ดิน
๓. นักเรียนสร้างแบบจำ�ลองและนำ�เสนอแบบจำ�ลองที่อธิบายการเกิดแหล่ง
น้ำ�ใต้ดิน ได้แก่ น้ำ�ในดินและน้ำ�บาดาล
๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าแหล่งน้ำ�ใต้ดินเกิดจากการซึม
ของน้ำ�ผิวดินลงไปสะสมตัวใต้ผิวโลก ซึ่งแบ่งเป็นน้ำ�ในดินและน้ำ�บาดาล
น้ำ�ในดินเป็นน้ำ�ที่อยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดดิน เป็นชั้นที่ไม่อิ่มตัวด้วย
น้ำ� ส่วนน้ำ�บาดาลเป็นน้ำ�ที่ไหลซึมลึกลงไปและถูกกักเก็บไว้ในชั้นหินหรือ
ชั้นดินจนอิ่มตัวไปด้วยน้ำ�
257
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒