Table of Contents Table of Contents
Previous Page  265 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 265 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๘. อธิบายปัจจัยและกระบวนการเกิดแหล่งน้ำ�ผิวดินและแหล่งน้ำ�ใต้ดิน จากแบบจำ�ลอง

ด้านความรู้

แหล่งน้ำ�ผิวดินเกิดจากฝนและหิมะที่ตกลงบน

ผิวโลกและไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ�ด้วยแรงโน้ม

ถ่วงของโลก การไหลของน้ำ�ทำ�ให้ผิวโลกเกิดการ

กัดเซาะเป็นร่องน้ำ� เช่น ลำ�ธาร คลอง และแม่น้ำ�

ซึ่งร่องน้ำ�จะมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน ขึ้น

อยู่กับปริมาณน้ำ�ที่ไหล ระยะเวลาในการกัดเซาะ

ชนิดดินและหิน และลักษณะภูมิประเทศ เช่น

ความลาดชัน ความสูงต่ำ�ของพื้นที่ เมื่อน้ำ�ไหล

ไปยังบริเวณที่เป็นแอ่งจะเกิดการสะสมตัวเป็น

แหล่งน้ำ� เช่น บึง ทะเลสาบ ทะเล และมหาสมุทร

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตและเปรียบ

เทียบความแตกต่างของลักษณะแหล่งน้ำ�

แต่ละแหล่ง

๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมา

จัดกระทำ�และนำ�เสนอกระบวนการเกิด

แหล่งน้ำ�ผิวดินและปัจจัยที่ส่งผลทำ�ให้

แหล่งน้ำ�ผิวดินมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน

ด้านความรู้

๑. อธิบายกระบวนการเกิดแหล่งน้ำ�ผิวดิน

๒. อธิบายปัจจัยที่ส่งผลต่อแหล่งน้ำ�ผิวดิน

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะสังเกต จากการสังเกตความแตกต่าง

ของลักษณะแหล่งน้ำ� ตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่ม

ความคิดเห็นส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นเกี่ยวกับ

กระบวนการเกิดแหล่งน้ำ�ผิวดินและปัจจัยที่ส่งผล

ทำ�ให้แหล่งน้ำ�ผิวดินมีขนาดและรูปร่างแตกต่าง

กันมาจัดกระทำ�และนำ�เสนอ ได้อย่างถูกต้องและ

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับลักษณะแหล่งน้ำ�

ผิวดิน โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่าง ๆ เช่น รูปภาพ

วีดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนำ�ไปสู่การสังเกตลักษณะแหล่งน้ำ�ผิวดิน

๒. นักเรียนสังเกตความแตกต่างของลักษณะแหล่งน้ำ�ผิวดิน จากวีดิทัศน์ และ

ร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าแหล่งน้ำ�ผิวดินมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น

- น้ำ�ตก มีลักษณะเป็นแหล่งน้ำ�ที่มีความลาดชัน ส่วนใหญ่อยู่บนพื้นที่สูง

ชัน

- แม่น้ำ� มีลักษณะเป็นแหล่งน้ำ�จืดที่มีความกว้าง และไหลเป็นทางยาว

- บึง มีลักษณะเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำ�ที่มีน้ำ�ท่วมขังอยู่

- ทะเลสาบ มีลักษณะเป็นพื้นน้ำ�ที่ล้อมรอบด้วยพื้นดิน มักเกิดขึ้น

ในบริเวณแอ่งแผ่นดินหรือบริเวณน้ำ�ขังที่ไม่มีทางไหลออกจากแอ่ง

โดยตรง

- ทะเล เป็นแหล่งน้ำ�เค็มที่กว้างใหญ่ มีแผ่นดินหรือหมู่เกาะกั้นเป็นแนว

แต่มีขนาดเล็กกว่ามหาสมุทร

๓. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับกระบวนการ

เกิดแหล่งน้ำ�ผิวดิน และปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดแหล่งน้ำ�ผิวดินที่มีขนาดรูปร่าง

แตกต่างกันออกไป เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และ

แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่น่าเชื่อถือได้

๔. นักเรียนรวบรวมข้อมูล นำ�เสนอ จัดกระทำ�ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย และร่วม

กันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า แหล่งน้ำ�ผิวดินเกิดจากฝนหรือหิมะที่ตกลง

บนพื้นโลกและไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ�ด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก การไหลของ

น้ำ�ทำ�ให้ผิวโลกเกิดการกัดเซาะเป็นร่องน้ำ� เช่น ลำ�ธาร คลอง และแม่น้ำ�

255

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒