5.1.2 กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ
ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการผสมลักษณะเดียวเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่
หัวข้อการผสมสองลักษณะ ครูอาจตั้งคำ�ถามว่า ในการผสมพันธุ์ของพ่อและแม่ที่มีลักษณะแตกต่าง
กัน 2 ลักษณะพร้อมกัน
ลักษณะทั้งสองลักษณะมีการถ่ายทอดไปด้วยกันจากรุ่นสู่รุ่นหรือไม่
ครูให้นักเรียนศึกษารูป 5.6 ในหนังสือเรียน ซึ่งเป็นการผสมสองลักษณะของถั่วลันเตา คือ การ
ผสมพันธุ์ถั่วลันเตาลักษณะเมล็ดกลมสีเหลืองพันธุ์แท้ (
RRYY
) กับลักษณะเมล็ดขรุขระสีเขียว (
rryy
)
จากนั้นให้รุ่น F
1
ผสมกัน แล้วร่วมกันอภิปรายและตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน ซึ่งมีแนวการตอบดังนี้
รุ่น F
1
มีโอกาสสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้กี่แบบ อะไรบ้าง และรูปแบบของยีนในเซลล์สืบพันธุ์
เป็นไปตามกฎการแยกหรือไม่
รุ่น F
1
มีจีโนไทป์เป็น
RrYy
สร้างสเปิร์มหรือเซลล์ไข่ ได้ 4 แบบ คือ
RY Ry rY
และ
ry
โดยแอลลีลแต่ละคู่ของยีนที่ควบคุมลักษณะหนึ่ง ๆ แยกจากกันตามกฎการแยก
4.3 เมื่อนำ�ต้นไม่มีขนในรุ่นลูกผสมพันธุ์กับต้นมีขนในรุ่นพ่อแม่จะได้ลูกมีลักษณะเป็น
อย่างไร คิดเป็นอัตราส่วนเท่าใด
จะได้รุ่นลูกที่มีลักษณะลำ�ต้นมีขน : ลำ�ต้นไม่มีขน ในอัตราส่วน 1 : 1
แนวการคิด
แสดงได้ดังนี้
เซลล์สืบพันธุ์
รุ่นลูก
1/2
Bb
1/2
bb
×
1/2 1/2
bb
Bb
b
B
b
ลำ�ต้นมีขน
ลำ�ต้นไม่มีขน
ลำ�ต้นมีขนในรุ่นพ่อแม่
ลำ�ต้นไม่มีขนในรุ่นลูก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 5 | การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชีววิทยา เล่ม 2
63