Table of Contents Table of Contents
Previous Page  76 / 284 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 76 / 284 Next Page
Page Background

ในรุ่น F

1

ที่มีจีโนไทป์เป็น

RrYy

โอกาสที่

R

และ

Y

อยู่ในเซลล์สืบพันธุ์เดียวกัน จะเท่ากับ โอกาส

ที่

R

และ

y

อยู่ในเซลล์สืบพันธุ์เดียวกันหรือไม่

เท่ากัน โดยเป็นไปตามหลักความน่าจะเป็น

R

มีโอกาสเข้าคู่กับ

Y

หรือ

y

เท่ากัน คือ 1/2

รุ่น F

2

ที่มีฟีโนไทป์เหมือนต้นพ่อหรือต้นแม่ในรุ่น P มีอัตราส่วนเป็นเท่าใด

รุ่น F

2

มีจำ�นวนเมล็ดที่มีฟีโนไทป์เหมือนรุ่น P คือ เมล็ดกลมสีเหลืองและเมล็ดขรุขระสีเขียว

เท่ากับ 315 + 32 เท่ากับ 347 โดยมีอัตราส่วนประมาณ

อัตราส่วนฟีโนไทป์ในรุ่น F

2

ที่เกิดขึ้นสอดคล้องกับหลักความน่าจะเป็นหรือไม่ อย่างไร

อัตราส่วนของลักษณะเมล็ดกลมกับเมล็ดขรุขระเท่ากับ 3 : 1 และอัตราส่วนของลักษณะเมล็ด

สีเหลืองกับเมล็ดสีเขียวเท่ากับ 3 : 1 เมื่อนำ�อัตราส่วนของสองลักษณะมาคูณกันจะได้รุ่น F

2

มีฟีโนไทป์ 4 ลักษณะ อัตราส่วนเป็น 9 : 3 : 3 : 1 ซึ่งสอดคล้องกับหลักการคูณของความน่าจะเป็น

ครูอาจแสดงให้นักเรียนเข้าใจถึงการรวมกลุ่มอย่างอิสระในระหว่างการแบ่งเซลล์ ดังรูป 5.7

เมื่อมีการแยกของแอลลีลที่อยู่เป็นคู่ซึ่งควบคุมลักษณะเดียวกันแล้ว จะมีการจัดกลุ่มอย่างอิสระกับ

แอลลีลของยีนที่ควบคุมลักษณะอื่น เช่น

R

กับ

r

เมื่อแยกจากกันแล้วอาจจัดกลุ่มกับ

Y

หรือ

y

ก็ได้

จึงทำ�ให้โอกาสที่จะเกิดเซลล์สืบพันธุ์

RY Ry rY

และ

ry

ในอัตราส่วน 1 : 1 : 1 : 1 เป็นดังนี้

1/2

R

1/2

r

1/2

Y

1/2

Y

1/4

RY

1/4

rY

1/4

Ry

1/4

ry

1/2

y

1/2

y

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปใจความสำ�คัญของกฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ คือ

ในระหว่างการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ยีนที่อยู่บนโครโมโซมที่ไม่ได้เป็นคู่ฮอมอโลกัสกัน จะมีการจัดกลุ่ม

อย่างอิสระ โดยแต่ละคู่ของแอลลีลจะแยกออกจากกัน และจัดกลุ่มอย่างอิสระกับแอลลีลอื่นที่

แยกออกจากคู่เช่นกัน

เมื่อนักเรียนเข้าใจกฎการแยกและกฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระแล้ว ครูอาจให้ตัวอย่างเพิ่มเติม

เช่น การหาโอกาสในการเกิดเซลล์สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์เป็น

AaBBCcDd

ครูอาจให้นักเรียน

ใช้แผนภาพซึ่งสรุปได้ว่าสิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์เป็น

AaBBCcDd

จะมีโอกาสสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้8รูปแบบ

ดังรูป และแต่ละรูปแบบจะมีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 1/8

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 5 | การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ชีววิทยา เล่ม 2

64