การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
๑. ยกตัวอย่างการเลือกใช้วัสดุตามสมบัติของวัสดุ
๒. ยกตัวอย่างการนำ�วัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการนำ�
ข้อมูลจากการสังเกตวัตถุมาระบุและอธิบายสมบัติของ
วัสดุที่ใช้ทำ�วัตถุแต่ละส่วน พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ
๒. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
จากการตีความหมายจากการสังเกตเพื่อลงข้อสรุป
ว่าวัตถุอาจมีส่วนประกอบหลายส่วน ทำ�จากวัสดุ
หลายชนิด แต่ละส่วนใช้งานแตกต่างกัน การเลือกใช้
วัสดุในการทำ�วัตถุชนิดต่าง ๆ ต้องดูจากสมบัติของวัสดุ
ลักษณะการใช้งาน คุณภาพ ความเหมาะสมกับราคา
และความปลอดภัย
ด้านความรู้
การเลือกใช้วัสดุมาทำ�เป็นวัตถุเพื่อใช้งานตาม
วัตถุประสงค์ขึ้นอยู่กับสมบัติของวัสดุ และยังต้อง
คำ�นึงถึงคุณภาพ ความปลอดภัย ความเหมาะสม
กับราคา วัสดุต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นวัตถุ บาง
อย่างสามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ เพื่อเป็นการ
ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าและลดปริมาณขยะ
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยนำ�
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายการเลือกใช้
วัสดุตามสมบัติของวัสดุที่ใช้ทำ�วัตถุ
๒. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
โดยการตีความหมายจากการสังเกตเพื่อลง
ข้อสรุป การนำ�วัสดุมาทำ�เป็นวัตถุในการใช้
งานตามวัตถุประสงค์
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการใช้วัสดุ
ในชีวิตประจำ�วัน โดยใช้ภาพหรือสถานการณ์ข่าวต่าง ๆ เพื่อนำ�ไปสู่
การสืบค้นเกี่ยวกับแนวทางการเลือกใช้วัสดุมาทำ�เป็นวัตถุต้องพิจารณา
จากสมบัติของวัสดุ
๒. นักเรียนสำ�รวจและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกใช้วัสดุมาทำ�เป็นวัตถุ
ตามสมบัติของวัสดุ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต
สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ บันทึกผลการสืบค้น นำ�เสนอ
๓. ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่าแนวทางการเลือกใช้วัสดุ
มาทำ�เป็นวัตถุต้องพิจารณาจากสมบัติของวัสดุนั้นๆ
๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับสาเหตุของ
ปัญหาที่มีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นจากการใช้วัสดุในชีวิตประจำ�วัน โดยใช้
ภาพหรือสถานการณ์ข่าวต่างๆ เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นเกี่ยวกับแนวทาง
การลดปริมาณขยะจากวัสดุที่ใช้แล้ว
๕. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการลดปริมาณขยะ จาก
อินเทอร์เน็ต สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ บันทึกผลการสืบค้น นำ�เสนอ
๖. ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่าแนวทางการลดปริมาณ
ขยะจากวัสดุที่ใช้แล้ว อาจทำ�ได้โดยการนำ�วัสดุเหล่านั้นกลับมาใช้ใหม่
ได้ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การใช้ซ้ำ� การซ่อมแซม การรีไซเคิล
99
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ตัวชี้วัด
๓. เปรียบเทียบสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุเพื่อนำ�มาทำ�เป็นวัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ และอธิบายการนำ�วัสดุ
ที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
๔. ตระหนักถึงประโยชน์ของการนำ�วัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยการนำ�วัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่