Table of Contents Table of Contents
Previous Page  126 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 126 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๒. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำ�ให้ร้อนขึ้นหรือทำ�ให้เย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

ด้านความรู้

เมื่อทำ�ให้วัสดุร้อนขึ้นหรือเย็นลง สมบัติของวัสดุ

จะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ด้านความรู้

อธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติของวัสดุเมื่อทำ�ให้

ร้อนขึ้นหรือเย็นลง

๑. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัสดุเนื่องจากมีแรง

กระทำ�ต่อวัสดุ โดยอาจใช้คำ�ถามหรือสื่อต่าง ๆ

๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับวิธีอื่นๆ ที่ทำ�ให้

รูปร่างหรือสมบัติอื่นๆ ของวัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลงได้

๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงสมบัติของวัสดุต่าง ๆ

เนื่องจากการทำ�ให้ร้อนขึ้นหรือเย็นลง เช่น การทำ�ไข่ดาว การหล่อเทียน

การทอดข้าวเกรียบ การคั่วถั่วลิสง การทำ�ไอศกรีม บันทึก สรุปผลและ

นำ�เสนอ

๔. ครูใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

และลงข้อสรุปว่าเมื่อทำ�ให้วัสดุร้อนขึ้นหรือเย็นลง สมบัติของวัสดุเกิด

การเปลี่ยนแปลงได้

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตการเปลี่ยนแปลง

สมบัติของวัสดุเมื่อทำ�ให้ร้อนขึ้นหรือเย็นลง

๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยนำ�

ข้อมูลจากการสังเกตวัสดุมาอธิบายการ

เปลี่ยนแปลงสมบัติของวัสดุเมื่อทำ�ให้

ร้อนขึ้นหรือเย็นลง

๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยการตีความหมายจากการสังเกตวัสดุเพื่อ

ลงข้อสรุปเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

เมื่อทำ�ให้ร้อนขึ้นหรือเย็นลง

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากข้อมูลที่ได้จากการ

สังเกตการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำ�ให้ร้อนขึ้น

หรือเย็นลง

๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจาก

การสังเกตวัสดุมาอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ

ของวัสดุเมื่อทำ�ให้ร้อนขึ้นหรือเย็นลง พร้อมแสดง

เหตุผลประกอบ

๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการตีความหมายจากการสังเกตวัสดุเพื่อลง

ข้อสรุปเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำ�ให้

ร้อนขึ้นหรือเย็นลง

116