การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
แม่เหล็กสามารถดึงดูดสารแม่เหล็กได้ ทำ�ให้
สามารถนำ�มาใช้เป็นเกณฑ์ในการจำ�แนกวัสดุที่
เป็นสารแม่เหล็กและไม่เป็นสารแม่เหล็ก
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตการเคลื่อนที่ของ
วัสดุต่าง ๆ เมื่อนำ�แท่งแม่เหล็กมาเข้าใกล้
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยจำ�แนกวัสดุที่
เป็นสารแม่เหล็กและไม่เป็นสารแม่เหล็กซึ่ง
ใช้การดึงดูดของแม่เหล็กเป็นเกณฑ์
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยการนำ�
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายผลของ
แรงแม่เหล็กที่มีต่อสารแม่เหล็ก
ด้านความรู้
๑. อธิบายผลของแรงแม่เหล็ก เมื่อนำ�แม่เหล็กเข้าใกล้
วัสดุที่เป็นสารแม่เหล็ก
๒. บอกเกณฑ์ที่ใช้จำ�แนกวัสดุที่เป็นสารแม่เหล็กและ
ไม่เป็นสารแม่เหล็ก
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากบันทึกผลการสังเกต
การเคลื่อนที่ของวัสดุต่าง ๆ เมื่อนำ�แท่งแม่เหล็ก
มาเข้าใกล้ตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่มเติม
ความคิดเห็นส่วนตัว
๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากการจำ�แนก
วัสดุที่เป็นสารแม่เหล็กและไม่เป็นสารแม่เหล็กโดย
ใช้การดึงดูดของแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ได้ถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะลงความเห็นจากข้อมูล จากการนำ�
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายผลของแรงแม่เหล็ก
ที่มีต่อสารแม่เหล็กได้ถูกต้อง
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับแม่เหล็ก โดย
การใช้วิธีซักถาม กิจกรรมสาธิต หรือสื่อต่าง ๆ เช่น ภาพเคลื่อนไหว
วีดิทัศน์เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมเพื่ออธิบายผลของแรงแม่เหล็กที่มี
ต่อสารแม่เหล็ก
๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยสังเกตการดึงดูดแม่เหล็กกับวัตถุและจำ�แนก
วัสดุที่เป็นสารแม่เหล็กและไม่เป็นสารแม่เหล็กโดยใช้การดึงดูดของ
แม่เหล็กเป็นเกณฑ์ บันทึกผล สรุปผล และนำ�เสนอ
๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อให้
ได้ข้อสรุปว่าแม่เหล็กสามารถดึงดูดสารแม่เหล็กซึ่งได้แก่ เหล็ก
๔. นักเรียนตั้งคำ�ถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับสารแม่เหล็กเพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้น
ข้อมูล บันทึกผล
๕. นักเรียนนำ�เสนอผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารแม่เหล็ก ร่วมกันอภิปราย
เพื่อลงข้อสรุปว่าสารแม่เหล็กคือสารที่แม่เหล็กดึงดูดได้ ซึ่งประกอบด้วย
เหล็ก นิกเกิล โคบอลต์
122
ตัวชี้วัด
๕. จำ�แนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจักษ์