Table of Contents Table of Contents
Previous Page  114 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 114 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยตีความหมายจากกราฟเพื่อลงข้อสรุป

อุณหภูมิขณะเดือดหรือจุดเดือดของสาร

บริสุทธิ์และสารผสม และตีความหมายข้อมูล

จากการสืบค้นข้อมูลจุดหลอมเหลวของสาร

บริสุทธิ์และสารผสม เพื่อลงข้อสรุปเกี่ยวกับ

จุดเดือดจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และ

สารผสม

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและทำ�งานเป็นทีม

โดยร่วมกันวัดอุณหภูมิขณะเดือดหรือ

จุดเดือดและร่วมกันสืบค้นข้อมูลอุณหภูมิ

จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยนำ�เสนอและ

ร่วมกันแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนเกี่ยวกับ

ผลการวัดอุณหภูมิขณะเดือดหรือจุดเดือด

และผลการสืบค้นข้อมูลจุดหลอมเหลวของ

สารบริสุทธิ์และสารผสม

๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลง

ข้อสรุป จากการแปลความหมายข้อมูลจากกราฟ

ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิของสารกับเวลาและ

ข้อมูลจากการสืบค้น เพื่อลงข้อสรุปได้อย่างถูกต้อง

ว่าสารบริสุทธิ์มีอุณหภูมิขณะเดือดหรือจุดเดือด

และมีจุดหลอมเหลวคงที่ และเป็นค่าเฉพาะตัวของ

สารบริสุทธิ์นั้น สารผสมมีอุณหภูมิขณะเดือดหรือ

มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวไม่คงที่

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและทำ�งานเป็นทีม

จากการร่วมกันวัดอุณหภูมิขณะเดือดหรือจุดเดือด

และสืบค้นข้อมูลอุณหภูมิจุดหลอมเหลวของ

สารบริสุทธิ์และสารผสม ตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ

และร่วมกันแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เกี่ยวกับ

ผลการวัดอุณหภูมิขณะเดือดหรือจุดเดือดและผล

การสืบค้นข้อมูลจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และ

สารผสม เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน

และถูกต้อง

๖. ครูเพิ่มเติมให้นักเรียนทราบว่าสารหมายเลข ๒ คือน้ำ� ซึ่งเป็นสารบริสุทธิ์

และสารหมายเลข ๓ คือสารละลายเอทานอล ซึ่งเป็นสารผสม แล้ว

ครูกระตุ้นโดยใช้คำ�ถามให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับ

วิธีตรวจสอบเพื่อระบุว่าสารใดเป็นสารบริสุทธิ์และสารใดเป็นสารผสม

เพื่อนำ�ไปสู่การปฏิบัติกิจกรรม

๗. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยให้ความร้อนกับสารทีละชนิด วัดอุณหภูมิของ

สารแต่ละชนิดระหว่างที่ให้ความร้อน ที่ช่วงเวลาต่างๆ ที่เท่ากัน เช่น ทุกๆ

๑ นาที จนสารเดือด แล้ววัดอุณหภูมิต่อไปอีก ๕ นาที บันทึกข้อมูลใน

ตาราง แปลความหมายข้อมูลโดยใช้กราฟ สรุปผล และนำ�เสนอ

๘. ครูรวบรวมข้อมูลของนักเรียนทั้งชั้นและใช้คำ�ถามเพื่อนำ�อภิปรายว่าน้ำ�มี

อุณหภูมิขณะเดือดคงที่ สารละลายเอทานอลมีอุณหภูมิขณะเดือดไม่คงที่

นักเรียนวิเคราะห์เปรียบเทียบองค์ประกอบของน้ำ�และของสารละลายเอ

ทานอล แล้วลงข้อสรุปว่า สารบริสุทธิ์มีอุณหภูมิขณะเดือดหรือจุดเดือด

คงที่ แต่สารผสมมีอุณหภูมิขณะเดือดไม่คงที่

๙. ครูกระตุ้นนักเรียนให้เกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับจุดหลอมเหลว

ของสารบริสุทธิ์และสารผสม เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ

จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ เช่น ทองคำ� ทองแดงและสารผสม เช่น

นาก บันทึกผล นำ�เสนอ

๑๐. ครูรวบรวมข้อมูลทั้งชั้นเรียน และใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย

จากข้อมูลสารสนเทศ และลงข้อสรุปว่า สารบริสุทธิ์มีจุดหลอมเหลวคงที่

และเป็นค่าเฉพาะตัวของสารบริสุทธิ์นั้น ส่วนสารผสมมีจุดหลอมเหลว

ไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับชนิดและสัดส่วนของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน

104