การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
อะตอมมีจำ �นวนโปรตอน เ ท่ากับจำ �นวน
อิเล็กตรอน อะตอมจึงเป็นกลางทางไฟฟ้า
โปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม
เรียกว่า นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่
ในที่ว่างรอบนิวเคลียส
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตแบบจำ�ลอง
โครงสร้างอะตอม และบันทึกสิ่งที่สังเกตได้
๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยรวบรวมข้อมูลจากการสังเกต
แบบจำ�ลองโครงสร้างอะตอมและข้อสรุป
องค์ประกอบของอะตอม มาจัดกระทำ�ใน
รูปแบบต่าง ๆ และนำ�เสนอ
๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อ
สรุป โดยนำ�ข้อมูลจากการสังเกตแบบจำ�ลอง
โครงสร้างอะตอมมาแปลความหมายและ
ลงข้อสรุป เกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและ
อนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม
๔. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยสร้างและใช้
แบบจำ�ลองเพื่ออธิบายโครงสร้างอะตอมและ
อนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม
๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยสังเกตแบบจำ�ลองโครงสร้างของอะตอมของ
ธาตุต่าง ๆ เช่น ออกซิเจน ไนโตรเจน คาร์บอน โซเดียม ซึ่งแสดงโปรตอน
นิวตรอน อิเล็กตรอน และประจุไฟฟ้าของอนุภาคแต่ละชนิด ที่ได้จาก
การสืบค้นข้อมูลหรือที่ครูเตรียมไว้ บันทึกผลการสังเกต
๓. นักเรียนรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตและสรุปองค์ประกอบของอะตอม
นำ�เสนอผลการสรุปโดยใช้รูปแบบการนำ�เสนอและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เหมาะสม
๔. ครูใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า โปรตอน
นิวตรอน และอิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบภายในอะตอม โปรตอน
มีประจุไฟฟ้าบวก นิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนอิเล็กตรอนมี
ประจุไฟฟ้าลบ โปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม เรียกว่า
นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้และอยู่รอบนิวเคลียส ธาตุชนิด
เดียวกันมีจำ�นวนโปรตอนเท่ากันเป็นค่าเฉพาะตัว อะตอมแต่ละอะตอม
มีจำ�นวนโปรตอนเท่ากับจำ�นวนอิเล็กตรอน อะตอมจึงเป็นกลางทางไฟฟ้า
๕. นักเรียนร่วมกันสร้างแบบจำ�ลองของตนเองที่แสดงโครงสร้างของอะตอม
และประจุไฟฟ้าของโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยครูกำ�หนด
จำ�นวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนให้ นักเรียนนำ�เสนอแบบจำ�ลอง
เพื่ออธิบายโครงสร้างของอะตอมของธาตุและประจุไฟฟ้าของอนุภาค
โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
๖. ครูใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลการนำ�เสนอ ปรับปรุง
แก้ไขให้ถูกต้อง และร่วมกันคัดเลือกแบบจำ�ลองเพื่อเผยแพร่บน
สื่อออนไลน์
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึกการ
สังเกตแบบจำ�ลองโครงสร้างอะตอม ได้ครบถ้วน
ตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว
๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล จากรูปแบบของการนำ�เสนอข้อมูลแบบ
จำ�ลองโครงสร้างอะตอมและข้อสรุปองค์ประกอบ
ในรูปแบบที่เหมาะสม ช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมาย
ของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อ
สรุป จากการนำ�ข้อมูลจากการสังเกตแบบจำ�ลอง
โครงสร้างอะตอมมาแปลความหมายและลงข้อ
สรุปเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและอนุภาคที่เป็น
องค์ประกอบของอะตอม อย่างสมเหตุสมผล
๔. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากการสร้าง
และใช้แบบจำ�ลองเพื่ออธิบายแนวคิดที่ถูกต้อง
เกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและอนุภาคที่เป็น
องค์ประกอบของอะตอมได้อย่างถูกต้อง
110