Table of Contents Table of Contents
Previous Page  123 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 123 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตแบบจำ�ลองที่อธิบาย

การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค

และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะ

ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส และบันทึกสิ่งที่

สังเกตได้

๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยใช้การจัดเรียง

อนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และ

การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารเป็นเกณฑ์ใน

การจำ�แนกสถานะของสสาร

๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมายข้อมูล โดย

นำ�เสนอแบบจำ�ลองของตนเอง เพื่ออธิบาย และ

เปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว

ระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของ

สสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส

๔. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและ ลงข้อสรุป โดย

นำ�ข้อมูลจากการสืบค้นมาแปลความหมายและ

สร้างแบบจำ�ลองเพื่อสรุปการจัดเรียงอนุภาค

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่

ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว

และแก๊ส

๕. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยสร้างและใช้แบบ

จำ�ลอง เพื่ออธิบายการจัดเรียงอนุภาค แรงยึด

เหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของ

อนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว

และแก๊ส

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก

การสังเกตแบบจำ�ลองที่อธิบายการจัดเรียงอนุภาค

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่

ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว

และแก๊สได้ครบถ้วน ตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่ม

ความคิดเห็นส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากการใช้

การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค

และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารเป็นเกณฑ์

ในการจำ�แนกสถานะของสสารได้อย่างถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการนำ�เสนอแบบจำ�ลองของตนเอง

เพื่ออธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่

ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว

และแก๊สได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่น

เข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และ

ชัดเจน

๔. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับ

การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค

และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะ

ของแข็ง ของเหลว และแก๊สจากแบบจำ�ลองได้

อย่างถูกต้อง

กว่าสสารในสถานะของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคเคลื่อนที่ได้

แต่ไม่เป็นอิสระ ทำ�ให้สสารในสถานะของเหลวมีรูปร่างไม่คงที่ แต่

ปริมาตรคงที่อนุภาคของสสารในสถานะแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรง

ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าอนุภาคสสารในสถานะของแข็ง

และของเหลว อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทาง ทำ�ให้สสาร

ในสถานะแก๊สมีรูปร่างและปริมาตรไม่คงที่

๕. นักเรียนสร้างแบบจำ�ลองของตนเอง โดยอาจใช้สื่อเทคโนโลยี

สารสนเทศ เพื่ออธิบายการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง

อนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง

ของเหลว และแก๊ส

๖. ครูและนักเรียนร่วมกันคัดเลือกแบบจำ�ลองเพื่อเผยแพร่บน

สื่อออนไลน์

113

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑