Table of Contents Table of Contents
Previous Page  129 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 129 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๑๑. สร้างแบบจำ�ลองที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลก

ด้านความรู้

๑. อากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุในทุกทิศทาง ซึ่ง

จะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดพื้นที่

ของวัตถุนั้น โดยแรงที่อากาศกระทำ�ตั้งฉาก

กับผิววัตถุต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่เรียกว่า

ความดันอากาศ

๒. คว ามดันอากาศ ใ นบริ เ วณต่า ง ๆ มี

ความสัมพันธ์กับความสูงจากพื้นโลกที่

เทียบกับระดับน้ำ�ทะเล โดยบริเวณที่สูงจาก

พื้นโลกขึ้นไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศ

น้อยลง ความดันอากาศก็จะลดลง

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตสังเกตแรงที่

อากาศกระทำ�ต่อวัตถุ

๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยการนำ�เสนอผลการสืบค้นข้อมูล

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอากาศกับ

ความดันอากาศ และความสัมพันธ์ระหว่าง

ความดันอากาศในบริเวณต่าง ๆ กับความสูง

จากพื้นโลกที่เทียบกับระดับน้ำ�ทะเล

ด้านความรู้

๑. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอากาศ กับ

ความดันอากาศ

๒. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศใน

บริเวณต่าง ๆ กับความสูงจากพื้นโลกที่เทียบกับ

ระดับน้ำ�ทะเล

๓. ยกตัวอย่างแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดจาก

การเปลี่ยนแปลงความดันอากาศตามความสูงจาก

พื้นโลกที่เทียบกับระดับน้ำ�ทะเล

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกรายละเอียด

สิ่งที่ปรากฏจริงเกี่ยวกับแรงที่อากาศกระทำ�ต่อวัตถุ

ตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

จากการนำ�ผลการสืบค้นมานำ�เสนอความสัมพันธ์

ระหว่างแรงดันอากาศกับความดันอากาศ และ

ความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศในบริเวณ

ต่าง ๆ กับความสูงจากพื้นโลกที่เทียบกับระดับน้ำ�

ทะเลได้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง และช่วยให้ผู้อื่น

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับแรงที่อากาศกระทำ�ต่อวัตถุ

โดยอาจใช้วิธีซักถาม การสาธิต หรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น รูป ภาพเคลื่อนไหว

วีดิทัศน์เกี่ยวกับแรงที่อากาศกระทำ�ต่อวัตถุ เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรม

เกี่ยวกับแรงที่อากาศกระทำ�ต่อวัตถุ

๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยสังเกตแรงที่อากาศกระทำ�ต่อวัตถุ เช่น

การเป่าลูกโป่ง บันทึกผลและนำ�เสนอ

๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าอากาศมีแรงกระทำ�ต่อวัตถุใน

ทุกทิศทาง เรียกว่า แรงดันอากาศ มีหน่วยเป็นนิวตัน

๔. นักเรียนตั้งคำ�ถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงดัน

อากาศกับขนาดพื้นที่ของวัตถุนั้น เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูล บันทึกผล

๕. นักเรียนนำ�เสนอข้อมูลและร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าขนาดของ

แรงดันอากาศที่กระทำ�ต่อวัตถุขึ้นอยู่กับขนาดพื้นที่ของวัตถุนั้น

๖. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าแรงดันอากาศที่กระทำ�ตั้งฉากกับผิววัตถุต่อ

หนึ่งหน่วยพื้นที่ เรียกว่า ความดันอากาศ

๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศ (

P

)

แรงดันอากาศ (

F

) และพื้นที่ (

A

) เพื่อให้ได้ข้อสรุปความสัมพันธ์ตามสมการ

P=

F

โดยความดันอากาศมีหน่วยเป็นนิวตันต่อตารางเมตร หรือพาสคัล

๘. นักเรียนตั้งคำ�ถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศ

ในบริเวณต่าง ๆ กับความสูงจากพื้นโลกที่เทียบกับระดับน้ำ�ทะเลเพื่อ

นำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูล

A

119

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑