การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๒. ทักษะการวัด โดยใช้เทอร์มอมิเตอร์วัด
อุณหภูมิของสสารและระบุหน่วยของการวัด
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยการเขียนกราฟแสดงความ
สัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับเวลา
๔. ทักษะการใช้จำ�นวน โดยการนำ�ข้อมูลจาก
สถานการณ์ตัวอย่างมาคำ�นวณปริมาณความ
ร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยน
สถานะ และปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๕. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและ ลงข้อ
สรุป โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้จาก
การสังเกตและลงข้อสรุปว่าเกี่ยวกับความ
ร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยนสถานะและเปลี่ยน
อุณหภูมิ
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ใน
การจัดกระทำ�ข้อมูลแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างอุณหภูมิกับเวลา
๒. ประเมินทักษะการวัด จากการใช้เทอร์มอมิเตอร์
วัดอุณหภูมิของสสาร พร้อมระบุหน่วยของการวัด
ได้ถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย จาก
การเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ
กับเวลาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่น
เข้าใจความหมายของข้อมูลได้ง่าย รวดเร็ว ชัดเจน
และถูกต้อง
๔. ประเมินทักษะการใช้จำ�นวน จากการนำ�ข้อมูลจาก
สถานการณ์ตัวอย่างมาคำ�นวณปริมาณความร้อน
ที่ใช้ในการเปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะ และ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งระบุหน่วยได้
อย่างถูกต้อง
๕. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้จากการ
สังเกตและลงข้อสรุปว่าเกี่ยวกับความร้อนที่ทำ�ให้
สสารเปลี่ยนสถานะและเปลี่ยนอุณหภูมิได้อย่าง
ถูกต้อง ครบถ้วน
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จากการเลือกใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ให้
เหมาะสมกับการจัดกระทำ�ข้อมูลและนำ�เสนอข้อมูล
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับเวลาและ
รู้จักวิธีใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้อย่างถูกต้อง
๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าความร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยน
อุณหภูมิสัมพันธ์กับมวล ความร้อนจำ�เพาะ และอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของ
สสาร โดยความร้อนที่ต้องใช้จะมีค่ามาก เมื่อมวล ความร้อนจำ�เพาะและ
อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของสสารมีค่ามาก ส่วนความร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยน
สถานะขึ้นกับมวลและความร้อนแฝงจำ�เพาะของสสาร โดยความร้อน
จะมีค่ามาก เมื่อมวลและความร้อนแฝงจำ�เพาะของสสารมีค่ามาก
ปริมาณความร้อนมีหน่วยเป็นแคลอรีหรือจูล
๘. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายวิธีการคำ�นวณปริมาณความร้อนที่ใช้
ในการเปลี่ยนอุณหภูมิหรือเปลี่ยนสถานะของสสารจากข้อมูลที่ได้จาก
การสำ�รวจ พร้อมทั้งคำ�นวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์
ตัวอย่างโดยใช้สมการ
Q = mc△t
และ
Q = mL
123
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑