Table of Contents Table of Contents
Previous Page  137 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 137 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๑๖. วิเคราะห์สถานการณ์การถ่ายโอนความร้อนและคำ�นวณปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอนระหว่างสสารจนเกิดสมดุลความร้อนโดยใช้สมการ

Q

สูญเสีย

=

Q

ได้รับ

ด้านความรู้

๑. ความร้อนถ่ายโอนจากสสารที่มีอุณหภูมิสูง

กว่าไปยังสสารที่มีอุณหภูมิต่ำ�กว่าจนกระทั่ง

อุณหภูมิของสสารทั้งสองเท่ากัน

๒. สภาพที่สสารทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน เรียกว่า

สมดุลความร้อน

๓. เมื่อมีการถ่ายโอนความร้อนจากสสารที่มี

อุณหภูมิต่างกันจนเกิดสมดุลความร้อน

ปริมาณความร้อนที่สสารหนึ่งสูญเสียจะ

เท่ากับปริมาณความร้อนที่อีกสสารหนึ่งได้รับ

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการวัดโดยใช้เทอร์มอมิเตอร์วัด

อุณหภูมิของสสารและระบุหน่วยของการวัด

๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลเกี่ยวกับการถ่ายโอน

ความร้อนระหว่างสสารที่ทำ�ให้เกิดสมดุล

ความร้อนมานำ�เสนอในรูปแบบของตาราง

บันทึกผล กราฟ หรือแผนภาพ

ด้านความรู้

๑. อธิบายการถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสารที่มี

อุณหภูมิต่างกันจนเกิดสมดุลความร้อน

๒. อธิบายวิธีการคำ�นวณปริมาณความร้อนระหว่าง

สสารเมื่อมีการถ่ายโอนความร้อนจนเกิดสมดุล

ความร้อน

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการวัด จากการใช้เทอร์มอมิเตอร์

วัดอุณหภูมิ พร้อมระบุหน่วยของการวัดได้อย่าง

ถูกต้องและเหมาะสม

๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย

ข้อมูล จากการทำ�ตาราง กราฟหรือแผนภาพอย่าง

ถูกต้องและเหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความ

หมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการถ่ายโอน

ความร้อนระหว่างสสารโดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือสาธิต เพื่อนำ�ไปสู่

การทำ�กิจกรรมเกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อน

๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยผสมสสารที่มีอุณหภูมิต่างกันแล้วการวัด

อุณหภูมิของสสารตั้งแต่เริ่มปฏิบัติกิจกรรมจนเกิดสมดุลความร้อน บันทึก

ผลและสรุป พร้อมทั้งนำ�เสนอ

๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อลงข้อสรุปได้ว่า

ความร้อนถ่ายโอนจากสสารที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังสสารที่มีอุณหภูมิต่ำ�

กว่าจนกระทั่งอุณหภูมิของสสารทั้งสองเท่ากัน

๔. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า เมื่อมีการถ่ายโอนความร้อนจนกระทั่งอุณหภูมิ

ของสสารทั้งสองเท่ากัน เรียกสภาพที่สสารทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากันว่า

สมดุลความร้อน

๕. นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์ที่มีการถ่ายโอนความร้อนระหว่าง

สสารจนเกิดสมดุลความร้อน โดยเขียนแผนภาพแสดงการถ่ายโอน

ความร้อนของแต่ละสสาร

๖. นักเรียนคำ�นวณปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอนระหว่างสสารจนเกิดสมดุล

ความร้อนโดยใช้สมการ

Q = mc△t

และ

Q = mL

พร้อมระบุหน่วยของ

การคำ�นวณ

127

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑