Table of Contents Table of Contents
Previous Page  138 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 138 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๓. ทักษะการใช้จำ�นวน โดยการนำ�ข้อมูลจาก

สถานการณ์ตัวอย่างมาคำ�นวณปริมาณความ

ร้อนที่ถ่ายโอนระหว่างสสารจนเกิดสมดุล

ความร้อนและปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

๔. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและ ลงข้อ

สรุป โดยการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึก

ได้จากการวัดและการคำ�นวณเพื่อลงข้อสรุป

เกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสาร

ที่ทำ�ให้เกิดสมดุลความร้อน

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและทำ�งานเป็นทีม

โดยมีส่วนร่วมในการวัด อภิปราย เกี่ยวกับ

การถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสารที่ทำ�ให้

เกิดสมดุลความร้อนและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ

การนำ�ความรู้เรื่องสมดุลความร้อนไปใช้

ประโยชน์

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยนำ�เสนอข้อมูล

จากการวัด การเขียนแผนภาพเพื่ออธิบาย

เกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสาร

ที่ทำ�ให้เกิดสมดุลความร้อน

๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ

วิเคราะห์สถานการณ์การถ่ายโอนความร้อน

ระหว่างสสารจนเกิดสมดุลความร้อน

๓. ประเมินทักษะการใช้จำ�นวน จากการนำ�ข้อมูลจาก

สถานการณ์ตัวอย่างมาคำ�นวณปริมาณความร้อนที่

ถ่ายโอนระหว่างสสารจนเกิดสมดุลความร้อนและ

ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งระบุหน่วยได้

อย่างถูกต้อง

๔. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้จาก

การวัดและการคำ�นวณเพื่อลงข้อสรุปเกี่ยวกับ

การถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสารที่ทำ�ให้เกิด

สมดุลความร้อนได้อย่างถูกต้อง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและทำ�งานเป็นทีม

จากการมีส่วนร่วมในการวัด อภิปราย เกี่ยวกับ

การถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสารที่ทำ�ให้เกิด

สมดุลความร้อนและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการนำ�

ความรู้เรื่องสมดุลความร้อนไปใช้ประโยชน์กับผู้อื่น

ตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสารจากนำ�เสนอข้อมูล

จากการวัด การเขียนแผนภาพเพื่ออธิบายเกี่ยวกับ

การถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสารที่ทำ�ให้เกิด

สมดุลความร้อนเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว

ชัดเจน และถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก

การวิเคราะห์สถานการณ์แล้วลงความเห็นเกี่ยวกับ

การถ่ายโอนความร้อนระหว่างสสารจนเกิด

สมดุลความร้อนได้อย่างสมเหตุสมผล

๗. นักเรียนนำ�เสนอและร่วมกันอภิปรายการเขียนแผนภาพและการคำ�นวณ

การถ่ายโอนความร้อนจากสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อลงข้อสรุปว่าเมื่อสสาร

ถ่ายโอนความร้อนจนเกิดสมดุลความร้อนแล้ว ปริมาณความร้อนที่

สสารหนึ่งสูญเสียจะเท่ากับปริมาณความร้อนที่อีกสสารหนึ่งได้รับ หรือ

Q

สูญเสีย

=

Q

ได้รับ

๘. นักเรียนร่วมกันเขียนแผนภาพและคำ�นวณปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอน

ในสถานการณ์อื่นๆ พร้อมทั้งคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

๙. นักเรียนสืบค้นข้อมูล นำ�เสนอและอภิปรายเกี่ยวกับการนำ�ความรู้เรื่อง

สมดุลความร้อนไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วัน เช่น การใช้เทอร์มอมิเตอร์

วัดอุณหภูมิของสสาร

128