Table of Contents Table of Contents
Previous Page  135 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 135 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๒. ความรู้เรื่องการขยายตัวและหดตัวของสสาร

เนื่องจากความร้อนนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้

ในด้านต่าง ๆ เช่น การสร้างถนน การสร้าง

รางรถไฟ การทำ�เทอร์มอมิเตอร์

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. การสังเกต โดยการสังเกตการขยายตัว

หรือหดตัวของสสารเมื่อได้รับหรือสูญเสีย

ความร้อน

๒. การลงความเห็นจากข้อมูล โดยการใช้

ประสบการณ์เดิมมาอธิบายข้อมูลจากการ

สังเกตเกี่ยวกับการขยายตัวหรือหดตัวของ

สสารเมื่อได้รับและสูญเสียความร้อน

๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและ ลงข้อสรุป

โดยการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้

จากการสังเกตและลงข้อสรุปว่าเกี่ยวกับ

การขยายตัวและหดตัวมื่อได้รับหรือสูญเสีย

ความร้อน

๔. การสร้างแบบจำ�ลอง โดยการใช้มูลจาก

การสืบค้นมาสร้างแบบจำ�ลองอธิบายการ

เคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารเมื่อสสาร

ขยายตัวหรือหดเมื่อได้รับหรือสูญเสีย

ความร้อน

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกการขยายตัว

หรือหดตัวของสสารเมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อน

ได้โดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว

๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก

การอธิบายผลจากการสังเกตเกี่ยวกับการขยายตัว

หรือหดตัวของสสารเมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อน

ได้อย่างสมเหตุสมผล

๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลง

ข้อสรุป จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้จาก

การสังเกตและลงข้อสรุปว่าเกี่ยวกับการขยายตัว

และหดตัวมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อนได้อย่าง

ถูกต้อง ครบถ้วน

๔. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากการสร้าง

แบบจำ�ลองที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้อง

เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารเมื่อสสาร

ขยายตัวหรือหดเมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อน

๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยการสังเกตการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร

เมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อน บันทึกผล นำ�เสนอ

๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อลงข้อสรุปว่า

ความร้อนทำ�ให้สสารขยายตัวหรือหดตัวได้ โดยเมื่อสสารได้รับความร้อน

สสารจะขยายตัว แต่เมื่อสสารสูญเสียความร้อน สสารจะหดตัว

๔. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของอนุภาคในสสารเมื่อ

เกิดการขยายตัวและหดตัวเมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อน บันทึกผล

การสืบค้นข้อมูล และสร้างแบบจำ�ลองการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสาร

เมื่อสสารขยายหรือหดตัวเมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อนในรูปแบบต่างๆ

เช่น การวาดภาพ การสร้างชิ้นงาน ๓ มิติ หรือการใช้โปรแกรมประยุกต์

เพื่อสร้างภาพเคลื่อนไหว พร้อมทั้งนำ�เสนอแบบจำ�ลอง

๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าเมื่อสสารได้รับความร้อน

อนุภาคของสสารจะเคลื่อนที่หรือสั่นเร็วขึ้นทำ�ให้ระยะห่างระหว่างอนุภาค

เพิ่มขึ้น สสารจึงขยายตัว แต่เมื่อสสารสูญเสียความร้อนอนุภาคของสสาร

จะเคลื่อนที่หรือสั่นช้าลง ทำ�ให้ระยะห่างระหว่างอนุภาคลดลง สสาร

จึงหดตัว

๖. นักเรียนตั้งคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับการนำ�ความรู้เรื่องการขยายตัวและหด

ตัวของสสารเมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อนเพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูล

เหตุการณ์ในชีวิตประจำ�วันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำ�เสนอ

๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าความรู้เกี่ยวกับการขยายและ

หดตัวของสสารเมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อนสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์

ด้านต่าง ๆ เช่น การเว้นระยะห่างของรางรถไฟ การทำ�เทอร์มอมิเตอร์

การออกแบบระบบระบายอากาศของอาคาร

125

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑