การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอากาศและความ
ดันอากาศ และการที่ความดันอากาศในบริเวณต่างๆ
เปลี่ยนแปลงไปตามความสูงจากพื้นโลกที่เทียบ
กับระดับน้ำ�ทะเลเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
ชัดเจน และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
การวิเคราะห์ข้อมูลแล้วลงความเห็นเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน อากาศในบริเวณ
ต่าง ๆ กับความสูงจากพื้นโลกที่เทียบกับระดับ
น้ำ�ทะเลได้อย่างสมเหตุสมผล
๔. ประเมินทักษะด้านการสร้างสรรค์จากการออกแบบ
และสร้างแบบจำ�ลองโดยใช้วัสดุในชีวิตประจำ�วันใน
การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศ
ในบริเวณต่าง ๆ กับความสูงจากพื้นโลกที่เทียบกับ
ระดับน้ำ�ทะเลซึ่งสะท้อนให้เห็นจินตนาการและ
แนวคิดใหม่
๕. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จากสารสืบค้นข้อมูลและจัดกระทำ�
ข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอากาศและ
ความดันอากาศ และความสัมพันธ์ระหว่างความดัน
อากาศในบริเวณต่าง ๆ กับความสูงจากพื้นโลกที่
เทียบกับระดับน้ำ�ทะเลจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
และมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น
๒. ทักษะด้านการสื่อสารโดยการนำ�เสนอข้อมูล
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอากาศและ
ความดันอากาศ และการที่ความดันอากาศ
ในบริเวณต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปตามความสูง
จากพื้นโลกที่เทียบกับระดับน้ำ�ทะเล
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย
การวิเคราะห์ข้อมูลแล้วลงความเห็นเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศใน
บริเวณต่างๆ กับความสูงจากพื้นโลกที่เทียบ
กับระดับน้ำ�ทะเล
๔. ทักษะด้านการสร้างสรรค์โดยการออกแบบ
และสร้างแบบจำ�ลองโดยใช้วัสดุในชีวิต
ประจำ�วันในการอธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างความดันอากาศในบริเวณต่าง ๆ กับ
ความสูงจากพื้นโลกที่เทียบกับระดับน้ำ�ทะเล
๕. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร โดยการสืบค้นข้อมูลและจัดกระทำ�
ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอากาศ
และความดันอากาศ และความสัมพันธ์
ระหว่างความดันอากาศในบริเวณต่าง ๆ กับ
ความสูงจากพื้นโลกที่เทียบกับระดับน้ำ�ทะเล
จากแหล่งต่าง ๆ
121
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑