Table of Contents Table of Contents
Previous Page  132 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 132 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๑๒. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และคำ�นวณปริมาณความร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะ โดยใช้สมการ

Q = mc△t

และ

Q = mL

๑๓. ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิของสสาร

ด้านความรู้

๑. ความร้อนมีผลต่อสสารในชีวิตประจำ�วัน

โดยเมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อน

อ า จทำ � ใ ห้สส า ร เ ปลี่ยนอุณหภูมิห รื อ

เปลี่ยนสถานะ ความร้อนมีหน่วยเป็นแคลอรี

หรือจูล

๒. ปริมาณความร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยน

อุณหภูมิขึ้นกับมวล ความร้อนจำ�เพาะ และ

อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของสสาร

๓. ปริมาณความร้อนที่ทำ�ให้สสารเปลี่ยน

สถานะขึ้นกับมวลและความร้อนแฝงจำ�เพาะ

ของสสาร โดยขณะที่สสารเปลี่ยนสถานะ

อุณหภูมิของสสารจะคงตัว

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตการ

เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและการเปลี่ยนสถานะ

ของสสาร

ด้านความรู้

๑. อธิบายผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนอุณหภูมิ

และสถานะของสสารในชีวิตประจำ�วัน

๒. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมวล ความร้อนจำ�เพาะ

และอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของสสารกับปริมาณ

ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนอุณหภูมิของสสาร

๓. อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั มพัน ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ม ว ล แ ล ะ

ความร้อนแฝงจำ�เพาะของสสารกับปริมาณ

ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสสาร

๔. อธิบายวิธีการคำ�นวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ

การเปลี่ยนอุณหภูมิและการเปลี่ยนสถานะของสสาร

๑. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับผลของความร้อนที่มีต่อสสาร โดยอาจใช้วิธี

ซักถามถึงประสบการณ์เดิม หรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น รูป ภาพเคลื่อนไหว

วีดิทัศน์

๒. นักเรียนยกตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตประจำ�วันที่เกี่ยวข้องกับความร้อน

ร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าความร้อนมีผลต่อสสารในชีวิตประจำ�วัน

โดยเมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจทำ�ให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ

หรือเปลี่ยนสถานะ

๓. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับความร้อนที่ทำ�ให้

สสารเปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะ เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมเกี่ยวกับ

การเปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะของสสารเมื่อได้รับความร้อน

๔. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยให้ความร้อนแก่สสารและการวัดอุณหภูมิที่

เปลี่ยนแปลงไป สังเกต บันทึกผล และเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์

ระหว่างอุณหภูมิกับเวลาโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จากนั้นวิเคราะห์และ

แปลความหมายข้อมูลจากกราฟ นำ�เสนอ

๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า ความร้อนทำ�ให้สสารเปลี่ยน

สถานะหรือเปลี่ยนอุณหภูมิ โดยขณะที่สสารเปลี่ยนสถานะ อุณหภูมิจะ

ไม่เปลี่ยนแปลง

๖. ครูกระตุ้นให้นักเรียนตั้งคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณ

ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะหรือเปลี่ยนอุณหภูมิ เพื่อนำ�ไปสู่

การสำ�รวจด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การสืบค้นข้อมูล หรือการทำ�กิจกรรม

บันทึกผล นำ�เสนอ

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกข้อมูลการ

เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและการเปลี่ยนสถานะของ

สสารได้ครบถ้วน ตามความเป็นจริง และโดยไม่เพิ่ม

ความคิดเห็นส่วนตัวลงไป

122