การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
๓. ในระดับความสูงต่างกัน ความกดอากาศจะ
ลดลงตามระดับความสูงจากผิวโลกที่เพิ่มขึ้น
โดยโมเลกุลของอากาศใกล้ผิวโลกมีหนาแน่น
ม า ก ก ว่ า ร ะ ดั บ ที่ สู ง ขึ้ น ไ ป เ นื่ อ ง จ า ก
แรงโน้มถ่วงของโลก จึงทำ�ให้ความกดอากาศ
ลดลงตามระดับความสูง
๔. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงความ
กดอากาศเช่น อุณหภูมิ และระดับความสูง
ของพื้นที่
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทั ก ษ ะ ก า ร สั ง เ ก ต โ ด ย ก า ร สั ง เ ก ต
กา ร เปลี่ยนแปลงความกดอากาศ เ มื่อ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในระบบปิด
๒. ทักษะการตีความหมายจากข้อมูล และ
ลงข้อสรุปโดยการแปลความหมายและ
ลงข้อสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
อุณหภูมิและความกดอากาศในระบบปิดและ
การที่ความกดอากาศมีค่าลดลงตามระดับ
ความสูงจากผิวโลกที่เพิ่มขึ้น
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย
ลงความเห็นเกี่ยวกับความกดอากาศใน
ระบบเปิดเมื่ออากาศมีอุณหภูมิสูงและต่ำ� และ
การยกตัวอย่างผลของความกดอากาศต่อชีวิต
และสิ่งแวดล้อมพร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประ เมินทักษะการสัง เกต จากผลการบันทึก
ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความกดอากาศ
เมื่อเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในระบบปิดได้ ครบถ้วน
ตามความเป็นจริงและไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว
๒. ประเมินทักษะการตีความหมายจากข้อมูลและ
ลงข้อสรุป จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อ
สรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและ
ความกดอากาศในระบบปิดและการที่ความกดอากาศ
มีค่าลดลงตามระดับความสูงจากผิวโลกที่เพิ่มขึ้นได้
อย่างถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากการอธิบายเกี่ยวกับ
ความกดอากาศในระบบเปิดเมื่ออากาศมีอุณหภูมิสูง
และต่ำ� และการยกตัวอย่างผลของความกดอากาศต่อ
ชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมเหตุสมผล
๓. นักเรียนตีความหมายจากข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์
ระหว่างอุณหภูมิและความดันอากาศในระบบปิด และร่วมกันอภิปราย
เพื่อลงข้อสรุปว่า ในระบบปิด เมื่อโมเลกุลของอากาศได้รับพลังงาน
ความร้อนจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงทุกทิศทาง และชนผนังระบบมากขึ้น
จึงทำ�ให้ความดันอากาศภายในระบบสูงกว่าภายนอก จึงทำ�ให้เห็นลูกโป่ง
ขยายขนาดขึ้น
๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนตั้งคำ�ถาม และอภิปรายเกี่ยวกับความดันอากาศใน
สภาพแวดล้อมที่เปิดโล่ง ซึ่งเป็นระบบเปิด
๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยเชื่อมโยงความรู้จากการทำ�กิจกรรมเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงความดันอากาศในระบบปิด และลงความคิดเห็นจาก
ข้อมูลเกี่ยวกับความดันอากาศในระบบเปิด เมื่ออากาศมีอุณหภูมิสูง
และต่ำ� เพื่อลงข้อสรุปว่า พื้นผิวโลกที่เปิดโล่ง ณ ระดับความสูงเดียวกัน
บริเวณที่มีอุณหภูมิอากาศสูง โมเลกุลของอากาศจะเคลื่อนที่ออกจาก
กันทุกทิศทางด้วยความเร็วสูง จึงมีโอกาสชนพื้นผิวโลกน้อยลง ทำ�ให้
ความดันอากาศต่อพื้นผิวโลกบริเวณนั้นต่ำ�กว่าบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ�กว่า
๖. ครูให้ความรู้กับนักเรียนว่าในทางอุตุนิยมวิทยาเรียกความดันอากาศว่า
ความกดอากาศ จากนั้นครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสงสัยเกี่ยวกับ
ความกดอากาศในระดับความสูงต่างๆ โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม
หรือสื่อต่าง ๆ เช่น รูปภาพ วีดิทัศน์ หรือภาพเคลื่อนไหว จากนั้นร่วมกัน
สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความกดอากาศ
ตามระดับความสูงจากผิวโลก
๗. นักเรียนนำ�ข้อมูลจากการสืบค้นเกี่ยวกับความกดอากาศที่ระดับ
ความสูงต่าง ๆ มาจัดกระทำ�ในรูปแบบที่เหมาะสม และนำ�เสนอ จากนั้น
ร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า ในระดับความสูงต่างกัน ความกดอากาศ
จะลดลงตามระดับความสูงจากผิวโลกที่เพิ่มขึ้น โดยโมเลกุลของอากาศ
ใกล้ผิวโลกมีหนาแน่นมากกว่าระดับที่สูงขึ้นไปเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
ของโลก จึงทำ�ให้ความกดอากาศลดลงตามระดับความสูง
138