Table of Contents Table of Contents
Previous Page  152 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 152 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

และอุณหภูมิอากาศซึ่งส่งผลให้ปริมาณไอน้ำ�

อิ่มตัวในอากาศมีการเปลี่ยนแปลง

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการวัด โดยการใช้ไซครอมิเตอร์วัด

ความชื้นสัมพัทธ์อากาศในสถานที่ต่าง ๆ

พร้อมระบุปริมาณและหน่วยของการวัด

๒. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โ ดยกา รตีคว ามหมายจากข้อมูลที่นำ �

เสนอแล้วแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เพื่อ

ลงข้อสรุปว่า ความชื้นสัมพัทธ์อากาศมี

การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ขึ้นอยู่

กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิอากาศ

สภาพแวดล้อมของพื้นที่

๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับผล

ของความชื้นสัมพัทธ์อากาศต่อการดำ�รงชีวิต

ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล

ความชื้นสัมพัทธ์อากาศในแต่ละพื้นที่

๒. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีมในการตรวจวัด นำ�เสนอ และอภิปราย

เกี่ยวกับความชื้นสัมพัทธ์

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการวัด จากการใช้ไซครอมิเตอร์

วัดความชื้นสัมพัทธ์อากาศในสถานที่ต่าง ๆ พร้อม

ระบุปริมาณและหน่วยของการวัดได้อย่างถูกต้อง

๒. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับ

ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์

ได้อย่างถูกต้อง

๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับ

ผลของความชื้นสัมพัทธ์อากาศต่อการดำ�รงชีวิต

ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ได้อย่างสมเหตุสมผล

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ

ข้อมูลความชื้นสัมพัทธ์อากาศในแต่ละพื้นที่เพื่อให้

ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง

๒. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น

ทีมในการตรวจวัด นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับ

ความชื้นสัมพัทธ์ ร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จ

ลุล่วง

๕. นักเรียนยกตัวอย่างผลของความชื้นสัมพัทธ์อากาศต่อการดำ�รงชีวิตของ

สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ เช่น ผ้าแห้งช้า

เนื่องจากความชื้นสัมพัทธ์มีค่าสูงไอน้ำ�จึงไม่สามารถระเหยได้หรือ

ระเหยได้ช้า

142