การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จากการใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้น
ข้อมูลค่าความกดอากาศในระดับความสูงต่าง ๆ
จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้และมีการอ้างอิง
แหล่งข้อมูลที่สืบค้น
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ
ข้อมูลเกี่ยวกับความกดอากาศที่ระดับความสูงต่างๆ
เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ
ถูกต้อง
๓. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม
จากการ ทดลอง ลงข้อสรุป สืบค้น จัดกระทำ�ข้อมูล
นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับความกดอากาศ
ร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จลุล่วง
ด้านความรู้
อธิบายการเกิดลม และปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วลมและ
ทิศทางลม
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร โดยการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
เกี่ยวกับความกดอากาศในระดับความสูงต่างๆ
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล
เกี่ยวกับความกดอากาศที่ระดับความสูงต่าง ๆ
จากผิวโลก
๓. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม
โดยร่วมกัน ทดลอง ลงข้อสรุป สืบค้น จัดกระทำ�
ข้อมูล นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับความ
กดอากาศ
ด้านความรู้
๑. ลมเกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศเมื่อ
ความกดอากาศต่างกัน โดยอากาศจะมีทิศทาง
การเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศ
สูงกว่า ไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ�กว่า
ในบริเวณที่มีความกดอากาศแตกต่างกันน้อย
ล ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ ะ เ ค ลื่ อ น ที่ ช้ า แ ต่ ถ้ า มี
ความแตกต่างมาก ลมจะเคลื่อนที่เร็วกลายเป็น
พายุได้
๘. นักเรียนยกตัวอย่างผลของความกดอากาศต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม พร้อม
อธิบายเหตุผลประกอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อผลกระทบดังกล่าว เช่น
เมื่อนักเรียนเดินทางไปอยู่บนที่สูง เช่น ขึ้นลิฟต์ หรือเที่ยวบนยอดดอย
บางครั้งอาจเกิดหูอื้อ เนื่องจากความกดอากาศมีการเปลี่ยนแปลงและ
ส่งผลต่อร่างกายทำ�ให้เกิดหูอื้อ หรือการระเบิดของยางรถเมื่อเดินทางไป
ในพื้นที่ที่อากาศร้อน อากาศในยางรถเกิดการขยายตัวเนื่องจากอุณหภูมิ
สูงส่งผลให้ยางระเบิด
การเกิดลม
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับการเกิดลม อัตราเร็วและ
ทิศทางลม โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่างๆ เช่น รูปภาพ
วีดิทัศน์
๒. ครูสาธิตการเกิดลมจากแบบจำ�ลองการเกิดลม นักเรียนร่วมกันสังเกต
การเกิดลมจากแบบจำ�ลอง บันทึกผล รวบรวมข้อมูล และตีความหมาย
จากข้อมูลเพื่ออธิบาย การเกิดลมเนื่องมาจากความแตกต่างของ
ความกดอากาศ
139
วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑