Table of Contents Table of Contents
Previous Page  95 / 367 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 95 / 367 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

๙. บรรยายลักษณะและหน้าที่ของไซเล็มและโฟลเอ็ม

๑๐. เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศทางการลำ�เลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพืช

ด้านความรู้

พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม เป็นเนื้อเยื่อที่มีลักษณะ

คล้ายท่อเรียงตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะที่ โดยไซเล็ม

ทำ�หน้าที่ลำ�เลียงน้ำ�และธาตุอาหาร มีทิศทาง

ลำ�เลียงจากรากไปสู่ลำ�ต้น ใบ และส่วนต่าง ๆ

ของพืช เพื่อใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง รวมถึง

กระบวนการอื่น ๆ ส่วนโฟลเอ็มทำ�หน้าที่ลำ�เลียง

อาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง มีทิศทาง

ลำ�เลียงจากบริเวณที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสงไปสู่

ส่วนต่าง ๆ ของพืช

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตทิศทางการเคลื่อนที่

ของน้ำ� และสังเกตลักษณะของไซเล็มของราก

และลำ�ต้นพืชโดยใช้กล้องจุลทรรศน์

๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยนำ�ข้อมูล

จากการสังเกตการดูดน้ำ�สีของพืชและการติดสี

ของเนื้อเยื่อพืช มาอธิบายทิศทางการลำ�เลียงน้ำ�

และธาตุอาหาร และหน้าที่ของไซเล็ม

ด้านความรู้

๑. บรรยายลักษณะและหน้าที่ของไซเล็มและโฟลเอ็ม

๒. บรรยายทิศทางการลำ�เลียงสารในไซเล็มและ

โฟลเอ็มของพืช

ด้านทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก

รายละเอียดเกี่ยวกับทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำ�

และลักษณะของไซเล็มของรากและลำ�ต้นพืชด้วย

กล้องจุลทรรศน์ ตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่มความ

คิดเห็นส่วนตัว

๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับการลำ�เลียงน้ำ� ธาตุอาหาร

และอาหารของพืช โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่างๆ เช่น รูป ภาพ

เคลื่อนไหว

๒. นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับส่วนต่างๆ ของพืชที่ทำ�หน้าที่ลำ�เลียงน้ำ�และ

ธาตุอาหาร เพื่อนำ�ไปสู่การสังเกตลักษณะภายนอกของราก ลำ�ต้น และ

ใบของพืช รวมทั้งการสังเกตลักษณะของไซเล็ม

๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังเกตทิศทางการลำ�เลียงน้ำ�และธาตุ

อาหารของพืช รวมทั้งสังเกตลักษณะของไซเล็มซึ่งเป็นบริเวณที่ติดสี

ของพืชหลังจากนำ�พืชไปแช่ในน้ำ�สี โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ บันทึกผล

และนำ�เสนอ

๔. นักเรียนรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและหน้าที่ของโฟลเอ็ม และ

ทิศทางการลำ�เลียงอาหาร จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ บันทึกผล และ

นำ�เสนอ

๕. นักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อลงข้อสรุปว่า การลำ�เลียงน้ำ�และธาตุ

อาหารของพืชเริ่มจากน้ำ�และธาตุอาหารเข้าสู่รากพืชและลำ�เลียง

ขึ้นต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชผ่านทางเนื้อเยื่อลำ�เลียงน้ำ�และธาตุ

อาหารหรือไซเล็ม ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อที่มีลักษณะคล้ายท่อเรียงตัวกันเป็น

กลุ่มเฉพาะที่ต่อเนื่องจากรากไปยังลำ�ต้นและทุกส่วนของพืช

85

วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑