วัสดุและอุปกรณ์
รายการ
ปริมาณต่อกลุ่ม
1. ต้นชบาหรือกิ่งชบา
2. ใบของพืชกลุ่มต่าง ๆ ได้แก่
พืชบก เช่น ถั่ว กุหลาบ ข้าวโพด ว่านกาบหอย
หัวใจม่วง ชะพลู พลับพลึงตีนเป็ด สับปะรดสี
ลีลาวดี
พืชที่ใบปริ่มน้ำ� เช่น บัวสาย
พืชที่ใบอยู่ใต้น้ำ� เช่น สาหร่ายหางกระรอก
3. ใบมีดโกน
4. พู่กัน เข็มเขี่ย ปากคีบ
5. จานเพาะเชื้อ หลอดหยด
6. น้ำ�
7. ทิชชู
8. น้ำ�ยาทาเล็บชนิดใสไม่มีสี
9. สไลด์และกระจกปิดสไลด์
10. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ
1 ต้น หรือ 1 กิ่ง
ใบของพืชบก พืชที่ใบปริ่มน้ำ�
และพืชที่ใบอยู่ใต้น้ำ�อย่างละ
1-2 ชนิด ชนิดละ 3-5 ใบ
3 ใบ
2 ชุด
2 ชุด
1 ขวด
1 ม้วน
1 ขวด
10 ชุด
1 กล้อง
การเตรียมการล่วงหน้า
ครูเตรียมต้นชบาหรือตัดกิ่งชบาโดยให้รอยตัดยังแช่อยู่ในน้ำ� เพื่อนำ�มาให้นักเรียนศึกษา
การคายน้ำ� และมอบหมายให้นักเรียนนำ�ใบของพืชกลุ่มต่าง ๆ มาศึกษาปากใบในชั้นเรียน ทั้ง
พืชบก เช่น ถั่ว กุหลาบ ข้าวโพด ว่านกาบหอย หัวใจม่วง ชะพลู พลับพลึงตีนเป็ด สับปะรดสี
ลีลาวดี พืชที่ใบปริ่มน้ำ� เช่น บัวสาย และพืชที่ใบอยู่ใต้น้ำ� เช่น สาหร่ายหางกระรอก เป็นต้น
ข้อเสนอแนะสำ�หรับครู
ในการทำ�กิจกรรมตอนที่ 2 ครูอาจสาธิตวิธีการลอกเยื่อผิวใบให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่างก่อน
ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ ในกรณีที่พืชบางชนิดอาจลอกผิวใบได้ยาก ครูอาจแนะนำ�ให้นักเรียน
ใช้ยาทาเล็บชนิดใส ไม่มีสี ในการป้ายที่ผิวใบพืชเพื่อลอกผิวใบมาศึกษา และในการเปรียบเทียบ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 10 | การลำ�เลียงของพืช
ชีววิทยา เล่ม 3
124