Table of Contents Table of Contents
Previous Page  139 / 283 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 139 / 283 Next Page
Page Background

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดการเรียนรู้

แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด

๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยอภิปราย

และเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหลอด

ไฟฟ้าเมื่อต่อกับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้ากับข้อมูล

ที่ได้จากการสืบค้นเกี่ยวกับการทำ�งานของ

เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า แหล่งพลังงานที่ใช้ในการ

ผลิตไฟฟ้า อันตรายที่เกิดจากการใช้ไฟฟ้าไม่

ถูกวิธีและวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธีเพื่อให้

เกิดความปลอดภัยและประหยัด

๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่ได้จากการสังเกต

และสืบค้นจากแหล่งต่าง ๆ แล้วนำ�มา

ตีความหมายและลงข้อสรุปเกี่ยวกับการผลิต

ไฟฟ้า แหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า

และวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธีเพื่อให้เกิด

ความปลอดภัยและประหยัด

๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลได้อย่าง

สมเหตุสมผล จากการเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้จากการ

สังเกตหลอดไฟฟ้าเมื่อต่อกับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า

กับข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการ

ทำ�งานของเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าแหล่งพลังงานที่ใช้ใน

การผลิตไฟฟ้า อันตรายที่เกิดจากการใช้ไฟฟ้าไม่ถูก

วิธีและวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธีเพื่อให้เกิดความ

ปลอดภัยและประหยัด

๓. ประ เ มินทักษะการตีความหมายข้อมูลและ

ลงข้อสรุปได้อย่างถูกต้อง จากการทำ�ความเข้าใจ

ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการสืบค้นจากแหล่ง

ต่างๆ แล้วนำ�มาตีความหมายและลงข้อสรุปได้อย่าง

ถูกต้องว่าไฟฟ้าเกิดจากการหมุนให้ขดลวดทองแดง

ตัดกับสนามแม่เหล็ก ในการผลิตไฟฟ้าของเครื่อง

กำ�เนิดไฟฟ้าใช้พลังงานจากแหล่งพลังงานธรรมชาติ

หลายแหล่ง และการใช้ไฟฟ้าจะต้องใช้อย่างถูกวิธี

เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและจะต้องใช้ไฟฟ้าอย่าง

ประหยัด

๗. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้าจากแหล่ง

ข้อมูลต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสารจากหน่วยงานหรือองค์กรผลิต

ไฟฟ้า สอบถามผู้ที่ทำ�งานอยู่ในหน่วยงานหรือองค์กรผลิตไฟฟ้า หรือ

อื่นๆ บันทึกผล และนำ�เสนอ

๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าในการผลิตไฟฟ้าของเครื่อง

กำ�เนิดไฟฟ้าใช้พลังงานจากแหล่งพลังงานธรรมชาติหลายแหล่ง เช่น

แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน น้ำ�มัน น้ำ� ลม และอื่น ๆ โดยที่แหล่งพลังงาน

บางชนิดใช้แล้วหมดไป เช่น แก๊สธรรมชาติ น้ำ�มัน ถ่านหิน แหล่งพลังงาน

บางชนิดหมุนเวียนได้ เช่น ลม น้ำ�

๙. ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป เพื่อให้

นักเรียนตระหนักถึงการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด

๑๐. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยนักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับวิธีการใช้

ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัดโดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ

เช่น รูป ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ

ประโยชน์และโทษของไฟฟ้า และการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัด

๑๑. นักเรียนสืบค้นข้อมูล บันทึกผล วิเคราะห์ข้อมูลที่สืบค้นได้เพื่อนำ�มา

สนับสนุนคำ�อธิบายเกี่ยวกับวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัด

และนำ�เสนอ

๑๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของไฟฟ้าและ

ลงข้อสรุปว่าการใช้ไฟฟ้าจะต้องใช้อย่างถูกวิธีเพื่อให้เกิดความปลอดภัย

๑๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อวางแผนเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติใน

การประหยัดการใช้ไฟฟ้า เช่น ปิดไฟในบ้านของตนเองหลังเวลาที่กำ�หนด

ถอดปลั๊กโทรทัศน์ทุกครั้งหลังจากใช้งาน

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น

ทีม จากการทำ�งานกับผู้อื่นในการสังเกต แลกเปลี่ยน

ผลการสังเกต และอภิปรายเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า

แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้า และวิธีการใช้ไฟฟ้า

อย่างปลอดภัยและประหยัดร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่เริ่ม

ต้นจนสำ�เร็จลุล่วง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑

๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โ ดยมีส่วนร่วมในการสัง เ กต

แลกเปลี่ยนผลการสังเกต และอภิปราย

เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า แหล่งพลังงานที่ใช้

ผลิตไฟฟ้า และวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

และประหยัด

129

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓