การวิเคราะห์ตัวชี้วัด
แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ด้านความรู้
คนบนโลกมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นทาง
ขอบฟ้าด้านตะวันออกและตกทางขอบฟ้าด้าน
ตะวันตก โดยมีเส้นทางการขึ้นและตกเป็นแบบรูป
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตเส้นทางการ
ขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ ด้วยตำ�แหน่งที่
ดวงอาทิตย์ปรากฏจากขอบฟ้า ตำ�แหน่งที่
ดวงอาทิตย์อยู่สูงสุดบนท้องฟ้า และตำ�แหน่ง
ที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า
ด้านความรู้
อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
รายละเอียดการสังเกตเส้นทางการขึ้นและตกของ
ดวงอาทิตย์ ด้วยตำ�แหน่งที่ดวงอาทิตย์ปรากฏจาก
ขอบฟ้า ตำ�แหน่งที่ดวงอาทิตย์อยู่สูงสุดบนท้องฟ้า
และตำ�แหน่งที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าได้ครบถ้วน
ตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับเส้นทางการขึ้น
และตกของดวงอาทิตย์ โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่างๆ เช่น วีดิทัศน์
ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนำ�ไปสู่การสังเกต
๒. นักเรียนสังเกตเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์จากวีดิทัศน์ หรือ
แบบจำ�ลอง โดยบันทึกการเริ่มปรากฏของดวงอาทิตย์จากขอบฟ้า
การผ่านตำ�แหน่งสูงสุดบนท้องฟ้า และการลับขอบฟ้า บันทึกผล จากนั้น
ร่วมกันอภิปราย
๓. ครูให้นักเรียนสังเกตเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ในแต่ละวัน
เป็นเวลาอย่างน้อย ๓ วัน บันทึกผลในรูปของตารางหรือโดยการวาดภาพ
และนำ�เสนอ
๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์
ว่าการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์เกิดขึ้นซ้ำ�แบบเดิมในทุก ๆ วันจนเป็น
แบบรูปหรือไม่ ให้ร่วมกันอภิปรายพร้อมบอกเหตุผล
131
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้ง
ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด
๑. อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ